Page 40

วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์

resources consumption (about 4-5 times of the global average), while Thailand is still slightly below average. In case of water footprint it is measured in terms of water need and wastewater quantity per an agricultural product. For instance, a cup of coffee has a water footprint of 140 Litres It means that the given quantity of water is needed for all stages of coffee production, starting from planting, harvesting, refining, transportation, packaging, marketing and treating of wastewater. The country with highest number of water footprint is India followed by China due to very high number of populations. For Thailand, it is ranked 9th. All these three countries are categorized as moderate to severe in terms of water stress. While “the world is sick” there have been international efforts to try to heal the world. The attempt is materialized by the ratification of the Kyoto Protocol to reduce greenhouse gases emissions in 1997 and entry into force in 2008-2012. Given that the industrialized countries or countries listed in Annex 1 are to reduce their greenhouse gas emissions by 5.2 % (based on the level of emissions in 1990) by the year 2012. Thailand ratified the Kyoto Protocol in 2002 with no obligation to reduce its emissions of greenhouse gases. However, Thailand can participate in the Clean Development Mechanism projects which, in turn, have led to some business opportunities and sustainable development. In addition, there have been joint efforts amongst member parties to find solutions or new measures to replace the Kyoto Protocol which will end in 2012. However, those efforts would take some time to effectively materialized. Most recently, the COP 16 at Cancun, Mexico could produce a Cancun agreement which created a mechanism so-called “Adaptation Fund.” Considering the effort of each country based on the “Climate Change Performance Index,” which is composed of three main factors including the trend of greenhouse gas emissions (50 %), the level of greenhouse gas emissions (30 %) and climate change policy (20 %), UK, France, Norway, Sweden, Mexico, Malta, Switzerland and Portugal are in good level. Thailand achieves a moderate level and ranks 19th out of 57 countries (average score of 59.8 %). The country of the lowest score is the Kingdom of Saudi Arabia (25.8 %) which is in the very bad shape, as well as China and USA. Part II Many Cities are being Rotten Looking from global perspective and scaling down to Thailand, a recent report from the IPCC (2007) indicated that several countries in Southeast Asia will be affected by climate change to some extent from moderate to severe. This is แน่นอนที่สุด ฉลากนิเวศน์ของแต่ละประเทศย่อมแตกต่าง กัน โดยประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ ถูกจัดให้เป็นประเทศ ผู้บริโภคทรัพยากรสูงสุด (ประมาณ 4-5 เท่าของเกณฑ์เฉลี่ยของโลก) ในขณะที่ประเทศไทยยังคงต่ำกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อย ในส่วนของ ฉลากน้ำ ซึ่งวัดความต้องการน้ำ และปริมาณน้ำทิ้งต่อผลผลิต ทางด้านเกษตรกรรม เช่น กาแฟ 1 ถ้วยที่เราดื่มมีค่าฉลากน้ำ 140 ลิตร กล่าวคือ ต้องใช้น้ำปริมาณดังกล่าวตั้งแต่เริ่มทำการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว การกลั่น การขนส่ง การบรรจุหีบห่อ การขาย และ การบำบัดน้ำเสียในกระบวนการผลิตต่างๆ เป็นต้น ประเทศที่มีค่า ฉลากน้ำสูงสุดได้แก่ ประเทศอินเดีย รองลงมาเป็นประเทศจีน เนื่องจากมีจำนวนประชากรสูง ส่วนประเทศไทยอยู่ลำดับที่ 9 โดย ทั้งสามประเทศถูกจัดให้เป็นประเทศที่มีปัญหาความเครียดทางน้ำ (Water Stress) ในระดับปานกลางถึงรุนแรง ในขณะที่โลกกำลังป่วย ความพยายามจากนานาประเทศ ในการเยียวยาโลก จากการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเริ่มกัน อย่างเป็นรูปธรรมเมื่อมีการลงสัตยาบันในพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ในปี พ.ศ. 2540 และเริ่มมีผลบังคับใช้ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2555 โดยกำหนดให้กลุ่มประเทศอุตสาหกรรม หรือประเทศ ในภาคผนวก 1 ต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 5.2 (จากระดับของการปล่อยในปี พ.ศ. 2533) ภายในปี พ.ศ. 2555 สำหรับประเทศไทย ได้ให้สัตยาบันต่อพิธีสารเกียวโตในปี พ.ศ. 2545 ในฐานะประเทศที่ไม่มีพันธกรณีในการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก แต่มีโอกาสเข้าร่วมโครงการตามกลไกการพัฒนา ที่สะอาด (Clean Development Mechanism) ซึ่งจะนำไปสู่โอกาส ทางธุรกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ความพยายามในการร่วมกันหาทางออก หรือ มาตรการใหม่ๆ มาแทนพันธกรณีพิธีสารเกียวโต ซึ่งจะสิ้นสุดการบังคับ ใช้ในปี พ.ศ. 2555 ยังไม่สามารถกำหนดเป็นรูปธรรมได้ ล่าสุดการ ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ครั้งที่ 16 (The 16th edition of conference of the Parties of the United Nation Framework Convention on Climate Change -COP16) ที่เมืองแคนคูน ประเทศเม็กซิโก ก็ยังคว้าน้ำเหลว เมื่อ พิจารณาความพยายามแต่ละประเทศโดยผ่านตัวชี้วัด ดัชนี ประสิทธิภาพของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change Performance Index) ซึ่งวัดจากปัจจัยหลัก 3 ปัจจัย คือ แนวโน้ม การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ร้อยละ 50 ระดับการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ร้อยละ 30 และนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ร้อยละ 20 พบว่า ประเทศบราซิล สวีเดน นอร์เวย์ อังกฤษ ฝรั่งเศส เม็กซิโก มอลตา สวิตเซอร์แลนด์ และโปรตุเกส ถูกจัดอยู่ในระดับดี ส่วน ประเทศไทยอยู่ในระดับปานกลาง โดยได้ลำดับที่ 19 จาก 57 ประเทศ (มีคะแนนร้อยละ 59.8) ประเทศที่ได้คะแนนต่ำสุดคือ ประเทศ ซาอุดีอาระเบีย (คะแนนร้อยละ 25.8) ซึ่งจัดอยู่ในระดับแย่มาก เช่น เดียวกับประเทศยักษ์ใหญ่อย่างจีน และสหรัฐอเมริกา ตอนที่ 2 หลายๆ เมืองกำลังเปื่อย เมื่อมองผ่านโลกอย่างกว้างๆ ในตอนที่ 1 กลับมามอง อย่างแคบๆ สำหรับประเทศไทยของเรา มีรายงานล่าสุดจาก คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 40 พลังงาน / Energy


วารสารอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ฉบับปฐมฤกษ์
To see the actual publication please follow the link above