วิธีการ การศึกษาการใช้พืชทนเค็มเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มชายทะเลในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานา ชาติสิรินธร ด าเนินการภายใต้แผนการทดลองสุ่มในบล็อกสมบูรณ์(RCBD) ท า 4 ซ้ า พืชที่ทดสอบมีดังนี้ 1. Sporobolus virginicus ชนิดใบละเอียด (Smyrna) 2. Sporobolus virginicus ชนิดใบหยาบ (Dixie) 3. หญ้าซีบรูค (Distichlis spicata) 4. หญ้าจอร์เจียร์ (Spartina patens) 5. หญ้าธรรมชาติ แนวทางการด าเนินงาน 1. เตรียมแปลงทดลองขนาด 3x3 เมตร จ านวน 20 แปลง 2. เตรียมกล้าพืชทนเค็มทั้ง 5 ชนิด โดยเพาะในถุงพลาสติกด า 3. เตรียมดิน และใส่ปุ๋ยคอกรองพื้นอัตรา 2 ตันต่อไร่(ใส่ปูนในกรณีที่ดินเป็นดินเปรี้ยว) 4. ปลูกพืชทนเค็ม โดยใช้ระยะปลูก 30x30 เซนติเมตร 5. ดูแลรักษาแปลงทดลอง ก าจัดวัชพืชและศัตรูพืชต่างๆ. การเก็บบันทึกข้อมูล 1. บันทึกข้อมูลสภาพภูมิอากาศ 2. ข้อมูลดิน ได้แก่ เก็บตัวอย่างดินก่อนและหลังการทดลองที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร เพื่อ วิเคราะห์ pH , ECe , Organic matter, total N, available P and K, soluble cation (Ca, Mg, K และ Na) 3. ข้อมูลพืช ได้แก่ - บันทึกเปอร์เซ็นต์การอยู่รอดของพืชทนเค็ม - บันทึกข้อมูลการเจริญเติบโต และมวลชีวภาพ - เก็บตัวอย่างพืช เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณ N, P, K, Na และ Cl
การใช้พืชทนเค็มเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มชายทะเลใน พื้นที่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร
To see the actual publication please follow the link above