ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ของแข็งแขวนลอย และโลหะหนักได้ดี ระบบบ าบัดดังกล่าวอาศัย กระบวนการทางธรรมชาติผสมผสานกับการปลูกพืช เช่น กก แฝก พุทธรักษา ธูปฤาษี และอ้อ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับพื้นที่ชุ่มน้ า ท าให้เป็นส่วนส าคัญในการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบบ าบัดแบบบึงประดิษฐ์นอกจากจะใช้บ าบัดน้ าเสีย ชุมชน อุตสาหกรรม และเกษตรกรรมแล้ว ยังสามารถประยุกต์ใช้บ าบัดของเสียประเภทสิ่ง ปฏิกูลจากบ้านเรือนหรือชุมชน เมืองได้อีกด้วย เป็นการด าเนินการตามแนวพระราชด าริของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อม แหลมผักเบยี้ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ จังหวัดเพชรบุรี 2.5.15 ศูนย์เรียนรู้แปลงสาธิตการพัฒนาดินเค็มตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยความร่วมมือระหว่างอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธรและกรมพัฒนาที่ดินเป็น การจัดการดินเค็ม เพื่อให้สภาพพื้นที่ที่เป็นดินเค็มสามารถน ามาใช้ประโยชน์ในด้านการปลูก ต้นไม้รวมทั้งพืชผลการเกษตร มีการอธิบายถึงโครงสร้างดินชนิดต่างๆ ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลถึงต้น น้ าห้วยทราย ซึ่งประกอบด้วยชุดดินหัวหิน ชุดดินท่าจีน ชุดดินชะอ า ชุดดินหุบกะพง ฯลฯ ท าให้ เห็นความแตกต่าง ชุดชั้นดิน มีการปรับปรุงคุณภาพดิน โดยใช้พืชเช่น ปอเทืองโสนแอฟริกา หญ้าแฝก และอื่น ๆ 2.5.16 การผลิตปุ๋ยจากไส้เดือนดิน ศูนย์การเรียนรู้การผลิตปุ๋ยหมักไส้เดือนดิน บริเวณหลังศูนย์พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม ให้ความรู้เกี่ยวกับไส้เดือนดินพันธุ์ต่าง ๆ และการผลิตปุ๋ยหมักจากไส้เดือนดินพันธุ์แอฟริกัน ไนท์คลอเลอร์ ซึ่งการเลี้ยงไส้เดือนจะเลี้ยงในกะละมัง อาหารที่ใช้ได้จากมูลวัวน นม ซึ่งมี ประโยชน์ช่วยเพิ่มและแพร่กระจายจุลินทรีย์ในดินที่มีประโยชน์พืช เช่น ไรโซเบียม ไมคลอไรซา ในบริเวณรากพืช เป็นต้น 2.5.17 การปลูกป่าในที่แห้งแล้งโดยการใช้ระบบน้ าหยด บริเวณหลังศูนย์พลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ประมาณ60 ไร่ โดยการสนับสนุน จากบริษัทเชฟร่อน มีการพลิกฟื้นพื้นที่ที่แห้งแล้งดินเค็มปกคุมด้วยไมยราบยักษ์มาเป็น เวลานาน โดยปรับปรุงดินด้วยการปลูกปอเทือง หญ้าแฝก แล้วปลูกต้นไม้โดยเลือกชนิดไม้ที่ เหมาะกับสภาพพื้นที่ เช่น ขี้เหล็ก กะทิง มะกล่ า สะเดา หว้า ละมุดสีดา สัก ยมหิน เป็นต้น มี การใช้น้ าหยด เพื่อรักษาความชื้นในดินอย่างต่อเนื่องท าให้พื้นที่ปกคลุมด้วยไม้มีค่าอย่าง รวดเร็ว บางตน้ มีขนาดความสูง 3-4 เมตรในช่วงเวลาเพียง 1 ปีเศษ นอกจากนั้นยังมีต้นไม้ที่ขึ้น ได้เองตามธรรมชาติ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการปลูกป่าในพื้นที่แห้งแล้งในบริเวณอื่นทั่ว ประเทศ
รายงานผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above