Page 31

รายงานสรุปผลการศึกษา โครงการศึกษาและสำรวจศักยภาพในการจัดตั้งศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าบริเวณพื้นที่ชุมชนหัวหิน-ชะอำ

บทสรุปผลการศึกษา 7.1 แนวทางปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ Gสำหรับพื$นทีห0ัวหิน-ปราณบุรี จากการวิเคราะห์การลงทุนของทางเลือกเทคโนโลยีทีเหมาะสม 6 ทางเลือกของการจัดการขยะ มูลฝอยในเขตหัวหิน-ปราณบุรี ทีเข้าสู่ศูนย์ฝัง กลบขยะมูลฝอยทีตัง/อยู่ในค่ายธนะรัชต์ ซึงตัง/อยู่ในเขต การปกครองของเทศบาลตำบลเขาน้อย ทางเลือกทีน่าจะเหมาะสมคือทางเลือกที 3.2 ทีใช้ระบบหมัก แบบหลุม(Dry stabilization)ทีมีหลักการให้อินทรียสารในขยะมูลฝอยจำนวนวันละ 310 ตันย่อยสลายไป ก่อน ทำให้เนื/อขยะแห้งลง คัดแยกได้ง่ายขึน/ แล้วจึงทำการรือ/ร่อนขยะมาทำเป็นเชือ/เพลิงจากขยะ(RDF) และส่งเข้าเตาเผาแบบตะกรับเพือผลิตไอนํ/าไปหมุนเทอร์ไบน์ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 5.3 เมกะวัตต์ เนืองจากขยะเข้าสู่ระบบถึงวันละ 310 ตัน เงินลงทุนจึงค่อนข้างสูงถึง 636 ล้านบาท ดังนัน/ การทีจะขอ ใช้งบประมาณจากส่วนกลางหรือกองทุนต่างๆจึงเป็นไปได้ยากและต้องใช้เวลามาก เพือเป็นการลดภาระ ของรัฐบาลและ อปท. รวมทั/งย่นระยะเวลาของการจัดทำงบประมาณการก่อสร้าง ประกอบกับ ผลตอบแทนของโครงการอยู่ในระดับทีพอยอมรับได้ที 13.56 % และสามารถคืนทุนได้ภายใน 6 ปี จึงมี ความเป็นไปได้ทีจะเชิญชวนเอกชนให้มาลงทุนโดยการให้สัมปทานในการกำจัดขยะเป็นการแลกเปลียน โดยเลือกเอกชนผู้ทีเสนอการจ่ายค่ากำจัดขยะในอัตราทีเหมาะสม มีศักยภาพ ความสามารถ และ ประสบการณ์เพียงพอทีจะบริหารจัดการเดินระบบต่อเนืองได้ 20 ปี สัญญาสัมปทาน (Concession Contract) เป็นการเปิดให้เอกชนเข้ามาลงทุนในบริการ สาธารณูปโภคพืน/ฐานภายใต้ระบบสัมปทาน หรือใบอนุญาตประกอบกิจการทีรัฐเป็นผู้ให้สิทธิผูกขาดแก่ เอกชนในการออกแบบก่อสร้างและบริหารจัดการ เก็บค่าธรรมเนียมและบำรุงรักษาโครงสร้างพื/นฐาน ภายใต้ข้อตกลงสัญญาสัมปทานและการกำกับดูแลของรัฐซึงมีด้วยกันหลายรูปแบบ แต่ส่วนใหญ่ของการ ให้สัมปทานผลิตไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นโครงการผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก(Small Power Producer-SPP) หรือ โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ(Independent Power producer-IPP) จะเป็นรูปแบบ BOO (Build,Own,Operate) เป็นสัญญาทีเอกชนลงทุนก่อสร้างและเดินระบบ โดยไม่ต้องโอนกรรมสิทธิรyะบบ กำจัดขยะมูลฝอยเพือผลิตพลังงานให้แก่รัฐ แต่รัฐให้สัญญาว่าจะจ่ายค่ากำจัดขยะตลอดช่วงเวลารับ สัมปทาน เนืองจากโครงการกำจัดขยะมูลฝอยเพือผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าของพื/นทีหัวหิน-ปราณบุรีเป็น โครงการลงทุนทีมีมูลค่าน้อยกว่า 1,000 ล้านบาท สามารถให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอนุมัติ การร่วมลงทุนกับเอกชนได้ โดยไม่ต้องผ่านคณะกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของ รัฐ (PPP) โดยมีแนวทางดำเนินการดังนี/ (1) อปท. ดำเนินการขออนุมัติจัดทำโครงการจากผู้ว่าราชการจังหวัดและขออนุมัติแต่งตั/ง คณะกรรมการเพือดำเนินโครงการและจัดทำข้อเสนอโครงการ(TOR) เพือประกาสให้เอกชนมาร่วม ลงทุน โดยคณะกรรมการทีแต่งตัง/ขึ/นทำการคัดเลือกผู้ทีมีคุณสมบัติเหมาะสมเพือเป้นผู้ดำเนินงาน โครงการศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยเพือผลิตพลังงาน โดยมีคณะกรรมการอีกชุดหนึงพิจารณาผลประโยชน์ มูลนิธิอุทยานสิงแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 30 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


รายงานสรุปผลการศึกษา โครงการศึกษาและสำรวจศักยภาพในการจัดตั้งศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าบริเวณพื้นที่ชุมชนหัวหิน-ชะอำ
To see the actual publication please follow the link above