Page 181

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

161 13 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Ghaati Subramanya, 14 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Chitradurga, Karnataka, 15 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Mandore, Jodhure, Republic 16 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Annur, Tamil Nadu, 17 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Allahabad Town, Uttar Pradesh, 18 A. indica A.Juss. var. siamensis 19 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Lamahi, Federal Democratic 20 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Geta, Federal Democratic 21 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Tibbi Laran, Rahimyar Khan, 22 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Multan, Cantonment Area, 23 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Kuliyapitiya, Democratic 24 A. indica A.Juss. สะเดาอินเดีย Bandia, Replubic of Senegal 14 O 30’N 17 O 02’N ที่มา: สุจิตรา, 2554 ผลการศึกษาวิจัย Karnataka, Republic of India 13 O 22’N 77 O 34’N Republic of India 14 O 02’N 76 O 04’N of India 26 O 18’N 73 O 01’N Republic of India 11 O 17’N 77 O 07’N Republic of India 25 O 28’N 81 O 54’N สะเดาไทย Khao Laung, Nakhon Sawan, Thailand 15 O 32’N 99 O 57’N Republic of Nepal 27 O 52’N 82 O 31’N Republic of Nepal 28 O 46’N 80 O 34’N Islamic Republic of Pakistan 28 O 24’N 70 O 18’N Islamic Republic of Pakistan 30 O 11’N 71 O 29’N Socialist Republic of Sri Lanka 07 O 08’N 80 O 00’N จากการเพิ่มปริมาณชิ้นดีเอ็นเอด้วยยีน matK ของไม้สะเดาจากแหล่งต่างๆพบว่าสามารถเพิ่ม ปริมาณชิ้นดีเอ็นเอได้ทุกแหล่ง ชิ้นดีเอ็นเอที่เพิ่มปริมาณได้มีขนาดประมาณ 930 คู่เบส ซึ่งตรงกับขนาดของ ชิ้นดีเอ็นเอเป้าหมาย (ภาพที่ 16.1) การวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ที่ยีน matK ในไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) (ภาพที่ 16.2) ในการเปรียบเทียบลำดับนิวคลีโอไทด์จาก ตัวอย่างไม้สะเดาไทย (A. indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) ที่ศึกษาทั้งหมดพบว่ามี ลำดับนิวคลีโอไทด์จำนวน 10 ตำแหน่งที่มีความผันแปร (variable nucleotide site) ที่จำเพาะกับกลุ่มไม้สะเดา ไทย (A. indica var. siamensis) และไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) (ตารางที่ 16.2) ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของไม้สะเดาในแหล่งต่างๆซึ่งวิเคราะห์ออกมาเป็น phylogenetic tree โดยวิธี Neighbour Joining นั้น สุจิตรา (2554) พบว่าไม้สะเดาจากแหล่งต่างๆ แบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ (ภาพที่ 16.3) กล่าวคือกลุ่มที่ 1 เป็นไม้สะเดาอินเดีย (A. indica) ประกอบด้วย 7


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above