Page 248

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

ตารางที่ 26.1 สรุปผลการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมความแตกต่างทางพันธุกรรมระหว่างประชากร และระบบการสืบพันธุ์ระหว่างประชากรของไม้ป่า และพืชป่าบางชนิดในประเทศไทย ชนิด (Species) ชนิดของเครื่องหมายโมเลกุลที่ใช้ศึกษา* เครื่องหมาย เอกสารอ้างอิง ไอโซเอนไซม์ยีน หมายเหตุ: * = เหตุที่ไม้ป่าและพืชป่าบางชนิดใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการศึกษาไม่เหมือนกันนั้น เนื่องจากในวงการพันธุศาสตร์ป่าไม้ระดับโมเลกุล เครื่องหมายโมเลกุลมีการพัฒนาให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ดังนั้นการศึกษาวิจัยจึงมีการพัฒนาไปตาม วิทยาการของโลก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ดีที่สุด เท่าที่จะทำได้ตามช่วงเวลาในการศึกษานั้นๆ ** = ในการศึกษาอัตราการผสมข้ามนั้นไม้ป่าและพืชป่าบางชนิดไม่สามารถทำการศึกษาได้ เนื่องจากมีข้อจำกัดเกี่ยวกับตัวอย่างที่เก็บ ซึ่งไม่สามารถเก็บเมล็ดได้ หรือบางชนิด แม้มีตัวอย่างเมล็ดและกล้าไม้ แต่ทางเทคนิควิธีการบางอย่าง ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ *** = ศึกษาทั้งป่าปลูกและป่าธรรมชาติ ความหลากหลายทาง พันธุกรรม Genetic differentiation ความแตกต่างทางพันธุกรรมระหว่าง ประชากร อัตราการผสมข้าม** (Tm) เครื่องหมายดีเอ็นเอ ไผ่ป่า (Bamboosa bambos) SSR (Microsatellite) 0.369 0.243 รังสัน และสุจิตรา, 2548 กล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่ (Paphiopedilum exul) AFLP 0.301 0.082 จักรพันธ์ และสุจิตรา, 2548 ไม้สนสองใบ (Pinus merkusii) / 0.058 0.104 0.017–0.843 Changtragoon and Finkeldey, 1995b ไม้สัก (Tectona grandis) / RAPD 0.310 0.217 0.872-0.995 Changtragoon and Szmidt, 1999; Changtragoon and Szmidt, 2000 ไม้โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) / AFLP 0.316 0.250 0.241-0.978 สุจิตรา, 2550 ไม้โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) AFLP 0.385 0.212 สุจิตรา, 2550 ไม้ยางนา (Dipterocarpus alatus) / 0.0924 0.182*** สุจิตราและบุญชุบ, 2542 / 0.128 Changtragoon, 2001b ไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) SSR (Microsatellite) 0.39 0.18 สุจิตราและคณะ, 2561 ไม้ชิงชัน (Dalbergia oliveri) SSR (Microsatellite) 0.77 0.13 สุจิตราและคณะ, 2564 228


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above