Page 256

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน

ตารางที่ 26.2 บทสรุปของคดีนิติวิทยาศาสตร์ป่าไม้และผลการวินิจฉัย บทที่ วิธีการศึกษา ผลที่ได้ คดีนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ คดีที่ 1: การพิสูจน์ว่าไม้ขี้เลื่อยของกลาง และไม้ของกลางในที่เกิดเหตุเป็นชนิดเดียวกัน และเป็นไม้หวงห้ามหรือไม่ การถอดรหัสพันธุกรรม ไม้ขี้เลื่อยของกลางไม่ได้มาจากชิ้นไม้กฤษณา (Aquilaria crassna) คดีนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ คดีที่ 2: การพิสูจน์ว่าไม้มะม่วง (Mangifera sp.) ของกลางมาจากมะม่วงป่า (Mangifera sp.) ที่เป็นไม้หวงห้ามหรือไม่ การถอดรหัสพันธุกรรม ไม้มะม่วง (Mangifera sp.) ของกลางได้ว่ามาจากมะม่วงพันธุ์ พื้นเมือง (มะม่วงบ้าน) ไม่ใช่ไม้มะม่วงป่า (Mangifera sp.) ซึ่งเป็นไม้ หวงห้าม คดีนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ คดีที่ 3: การพิสูจน์ตัวอย่างเนื้อไม้ของ กลางว่าเป็นไม้พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) หรือไม้บุนนาค/นากบุด (Mesua ferrea) โดยใช้วิธีพิสูจน์ลักษณะทางกายวิภาคภายใต้กล้องสเตอริโอ ไมโครสโคป (Stereo Microscope) และถอดรหัสพันธุกรรม พิสูจน์ลักษณะทางกายวิภาคภายใต้ กล้องสเตอริโอ ไมโครสโคป (Stereo Microscope) และถอดรหัสพันธุกรรม ตัวอย่างเนื้อไม้ของกลางมีลักษณะทางกายภาพและ ดีเอ็นเอของชิ้น ไม้ของกลางเหมือนกับไม้บุนนาค/นากบุด (Mesua ferrea) คดีนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ คดีที่ 4: การพิสูจน์ว่าไม้สัก(Tectona grandis) ของกลางที่ถูกจับกุมเป็นไม้สัก (T. grandis) ที่ถูกตัดมาจากสวนป่าหรือไม่ การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (ไมโครแซทเทลไลท์มาร์คเกอร์) ท่อนไม้สัก (T. grandis) ที่ถูกลักลอบตัดมีลักษณะทางพันธุกรรม เหมือนกับไม้สักที่ถูกตัดในสวนป่า คดีนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ คดีที่ 5: การวินิจฉัยว่าชิ้นไม้ของกลาง 142 ชิ้นว่ามาจากต้นใดต้นหนึ่งของไม้พะยูงที่ถูกลักลอบตัดหรือไม่ การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (ไมโครแซทเทลไลท์มาร์คเกอร์) ชิ้นไม้ของกลาง 2 ชิ้นมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกับไม้พะยูงต้น หนึ่งที่ถูกลักลอบตัดจากอุทยานแห่งชาติ คดีนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ คดีที่ 6: กิ่งไม้พะยูงของต้นพะยูงต้อง สงสัยมีพันธุกรรมตรงกับราก กิ่งที่งอกของไม้พะยูงที่คาดว่าถูกลักลอบล้อมต้นไปปลูกอีก ที่หรือไม่ การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (ไมโครแซทเทลไลท์มาร์คเกอร์) กิ่งและเนื้อไม้พะยูงต้องสงสัยมีลักษณะทางพันธุกรรมไม่เหมือนกับ ต้นพะยูงที่ถูกลักขุดยกเอาไป คดีนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ คดีที่ 7: การพิสูจน์วัตถุพยานไม้ของกลาง เป็นไม้พะยูงหรือไม่ และขี้เลื่อยและเศษไม้ของกลางมีพันธุกรรมตรงกับตอไม้ที่ถูกตัดจาก วัดหรือไม่ การถอดรหัสพันธุกรรมและการศึกษา ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (ไมโครแซทเทลไลท์ มาร์คเกอร์) วัตถุพยานไม้ของกลางเป็นไม้พะยูงและวัตถุพยานตามหมายเลขซอง ลำดับที่ 1.3, 2.2 และ 3.1 พบว่าทั้ง 3 ตัวอย่างมีลักษณะทาง พันธุกรรมเหมือนกัน 236


การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและไอโซเอนไซม์ยีน
To see the actual publication please follow the link above