Page 21

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

7 ผู้บริโภคตายจะเป็นหน้าที่ของผู้ย่อยสลายที่จะท าลายซากพืช.ซากสัตว์ให้เน่าเปื่อยผุพัง ในระหว่างนี้ธาตุอาหารที่สะสมในซากพืช ซากสัตว์จะถูกปล่อยออกมาสะสมในดินและเป็น แหล่งอาหารของผู้ผลิตขั้นต้นต่อไป กลายเป็นวงจรใหม่อีกครั้ง (ภาพที่ 2.2) ภาพที่ 2.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง Trophic levels ในระบบนิเวศ ที่มา : (เกษม จันทร์แก้ว. 2544 : 56) ลักษณะที่สอง.การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศป่าชายเลน .(Energy.flow.in mangrove.ecosystem).การถ่ายทอดพลังงานตามระดับอาหารที่มีลักษณะไม่เป็นวงจร.(Non.- cycle).จากกลุ่มมีชีวติ กลุ่มหน่งึ ไปสู่กลุ่มสิ่งมีชีวิตอีกกลุ่ม มีการสูญเสียพลังงานในรูปความร้อน ประมาณร้อยละ.80.-.90.ของพลังงานศักย์ ซึ่งพืชสีเขียวไม่สามารถน าไปใช้ในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงได้อีก.กระบวนการถ่ายทอดพลังงานเริ่มจากพืชสีเขียวได้พลังงาน จากแสงอาทิตย์เพื่อสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดอินทรีย์สารขึ้นและสะสมพลังงานไว้ในเบื้องต้น จากนั้นพลังงานจะถูกถ่ายทอดไปยังสัตว์ที่กินพืช ซึ่งจะน าไปใช้ในการเจริญเติบโตและสูญเสียไป ในกิจกรรมต่างๆ และการหายใจ ส่วนที่เหลือจะถูกถ่ายทอดไปยังสัตว์กินสัตว์ ไปจนถึงมนุษย์ ซึ่งเป็นผู้บริโภคขั้นสูงสุด.และเป็นระดับสุดท้ายของโซ่อาหาร.(Food.chain).ในขณะเดียวกัน ผู้ผลิตและผู้บริโภคทั้งหลายจะล้มตายไปบ้าง พลังงานต่างๆ ที่สะสมอยู่ก็จะถูกถ่ายทอดไปยัง ผู้ย่อยสลายซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายในการถ่ายทอดพลังงานนั่นเอง


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above