บทท่ ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน พื้นที่ป่าชายเลนบริเวณคลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร สามารถสรุปและอภิปรายผลได้ดังต่อไปนี้ 5.1 สรุปผลการศึกษา ผลการศึกษา พบว่า พรรณไม้ที่เป็นไม้ยืนต้น พบทั้งหมดมีจ านวน 8 ชนิด มีพรรณไม้ 5 ชนิด ที่สามารถพบได้ทุกแปลงส ารวจ ได้แก่ แสมทะเล ถั่วขาว โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ และโพธิ์ทะเล แสดงว่าพรรณไม้ทั้ง 5 ชนิดนี้ มีการกระจายพันธุ์ทั่วพื้นที่ ส่วนพรรณไม้อีก 3 ชนิด ได้แก่ ตาตุ่มทะเล ฝาดดอกขาว และโปรงแดง จะมีการกระจายพันธุ์เฉพาะพื้นที่เท่านั้น พรรณไม้ ที่มีลักษณะเป็นลูกไม้ พบจ านวน 10 ชนิด ได้แก่ แสมทะเล โปรงขาว โปรงแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ตะบูนด า ถั่วขาว โพธิ์ทะเล ฝาดดอกขาว และตาตุ่มทะเล พรรณไม้ที่มีลักษณะ เป็นกล้าไม้ พบจ านวน 9 ชนิด ได้แก่ แสมทะเล โปรงแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ตะบูนด า ถั่วขาว โพธิ์ทะเล ฝาดดอกขาว และตาตุ่มทะเล พรรณไม้ที่พบมีความโตทางด้านขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของต้นไม้ ที่ขนาดเส้น.- ผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป (กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลาง ที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก) เท่ากับ 5.24 เซนติเมตร และความโตด้านความสูงเฉลี่ย ของต้นไม้เท่ากับ 6.22 เมตร ความหนาแน่นของต้นไม้ ในการส ารวจไม้ใหญ่ คือ มีความหนาแน่นเฉลี่ยประมาณ 257.78 ต้นต่อไร่ ต้นไม้ที่มีความหนาแน่นของสูงสุด คือ แสมทะเล มีความหนาแน่นเฉลี่ย ประมาณ.154.67.ต้นต่อไร่.รองลงมา.คือ.โกงกางใบใหญ่.ตาตุ่มทะเล.ถั่วขาว.โปรงแดง โกงกางใบเล็ก.โพธิ์ทะเล.และฝาดดอกขาว มีค่าเฉลี่ยประมาณ 85.33,.8.00,.6.67,.5.33, 4.00,.2.22.และ.1.33 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ ลูกไม้ มีความหนาแน่นเฉลี่ย 422.67 ต้นต่อไร่ โดยที่ แสมทะเล มีความหนาแน่นของลูกไม้สูงสุด โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ย 312.89 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ถั่วขาว โกงกางใบเล็ก ตาตุ่มทะเล โปรงแดง โพธิ์ทะเล ตะบูนด า ฝาดดอกขาว และโปรงขาว มีค่าประมาณ 65.33,.14.22,.9.78,.9.33,.6.67,.4.00,.3.33, 2.67 และ.2.67 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ กล้าไม้ มีความหนาแน่นเฉลี่ย 471.11 ต้นต่อไร่ โดยที่ แสมทะเล
ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above