42 ตารางที่ 4.4 ความสูงเฉลี่ยของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราว จ านวน 3 แนว ของป่าชายเลนบางตราใหญ่ ล าดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ความสูงเฉลี่ย (เมตร) แนวที่ 1 แนวที่ 2 แนวที่ 3 เฉลี่ย 1 โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronata 8.1 8.18 9.88 8.72 2 ตาตุ่มทะเล Excoecaria agallocha - - 7.5 7.5 3 แสมทะเล Avicennia marina 6.24 5.64 7.93 6.6 4 โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata 6.5 5.33 6.75 6.19 5 ถั่วขาว Bruguiera cylindrica 6 4.9 7.4 6.1 6 โพธิ์ทะเล Thespesia populnea (L.) 4 4 9.5 5.83 7 โปรงแดง Ceriops tagal - - 2.8 2.8 8 ฝาดดอกขาว Lumnitzera racemosa Willd. - 2.5 - 2.5 เฉลี่ย 6.69 6.63 8.39 7.24 4.4 ความหนาแน่นของต้นไม้ (Tree density) การศึกษาความหนาแน่นของไม้ใหญ่ ด าเนินการศึกษาความหนาแน่นของต้นไม้ ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่.4.0.เซนติเมตร.ขึ้นไป.กรณีไม้โกงกางให้วัด เส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ.20.เซนติเมตร.เหนือคอราก.และความหนาแน่นของลูกไม้และ กล้าไม้ในแปลงส ารวจ มีผลการศกึ ษาดังน้ ี 4.4.1.ความหนาแน่นของไม้ใหญ่.(Density.of.trees).ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก พบว่า ความหนาแน่นของต้นไม้ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราวแนวที่ 1, 2 และ 3 มีค่าเฉลี่ยประมาณ 249.33, 274.67 และ 249.33 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ ในแนวที่ 1 ต้นไม้ที่มีความหนาแน่นสูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าเฉลี่ยประมาณ 178.67 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก ถั่วขาว และโพธิ์ทะเล มีค่าเฉลี่ยประมาณ 65.33, 2.67 และ 1.33 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ แนวที่ 2 ต้นไม้ที่มีความหนาแน่นสูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณ 148.00 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ถั่วขาว โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล และฝาดดอกขาว
ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above