Page 31

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

17 มีความหนาแน่นของกล้าไม้และลูกไม้ประมาณ 6,147 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 984 ต้นต่อไร่และ 1,600 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 256 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ (พัชรี เอี่ยมผา. 2526) ป่าชายเลนบริเวณ อ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความหนาแน่นของลูกไม้เฉลี่ย 7,952 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 1,272 ต้นต่อไร่.(วชิร จ่ายพงษ์. 2531) ป่าชายเลนบริเวณอ าเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา มีความหนาแน่นลูกไม้เฉลี่ย.2,924 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 468 ต้นต่อไร่ (พิสิษฐ์ ปิยสมบุญ..2531) ป่าชายเลนบริเวณอ่าวทุ่งคาและอ่าวสวี อ าเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร มีลูกไม้จ านวน 5,200 ต้นต่อไร่ (ธนากร อ้วนอ่อน และคณะ. 2531) ป่าชายเลนบริเวณป่าชายเลน ท่าฉัตรไชย อ าเภอ ถลาง จังหวัดภูเก็ต มีความหนาแน่นของลูกไม้และกล้าไม้เฉลี่ย.2,708 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 433 ต้นต่อไร่ และ.2,346 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 375 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ.(ฝ่ายจัดการป่าชายเลน กองการจัดการป่าไม้ และกรมป่าไม้. 2535) ป่าชายเลนบริเวณอ าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี มีลูกไม้และกล้าไม้จ านวน 4,240 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 678 ต้นต่อไร่ และ 9,800 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 1568 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ (เฉลิมชัย โชติกมาศ. 2539) ป่าชายเลนบริเวณปากคลองพะวง ริมทะเลสาบสงขลาตอนนอก มีความหนาแน่นของลูกไม้และกล้าไม้ 2,851 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 456 ต้นต่อไร่ และ 1,213 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 194 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ (วิจารณ์ มีผล..2540) ป่าชายเลนบริเวณอ าเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีความหนาแน่นของลูกไม้และกล้าไม้ 113 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 18 ต้นต่อไร่ และ 4,300 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 688 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ (สุรชาติ เพชรแก้ว. 2540) ป่าชายเลนบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนในมีความหนาแน่นของลูกไม้ และกล้าไม้ 4,370 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 699 ต้นต่อไร่ และ.16,860 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 2698 ต้นต่อไร่ตามล าดับ (นิพิท ศรีสุวรรณ และคณะ. 2542) ป่าชายเลนจังหวัดสมุทรสงคราม มีลูกไม้ และกล้าไม้จ านวน 916 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 147 ต้นต่อไร่ และ 6,714 ต้นต่อเฮกแตร์ หรือ 1,074 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ (สนใจ หะวานนท์ และคณะ. 2538) 2.10 การศึกษาโครงสร้างสังคมพืช ลักษณะโครงสร้างของสังคมพืช หมายถึง ลักษณะที่เกี่ยวกับการกระจายในพื้นที่ การด ารงอยู่และการกระจายในพื้นที่ในรูปมวลชีวภาพของพรรณพืช โครงสร้างของสังคมพืช แบ่งได้ 3 แบบ คือ โครงสร้างทางด้านตั้ง (Vertical.structure) หมายถึง พืชซึ่งแบ่งเป็นชั้นๆ ตามความสูงเรียกว่า Layer หรือ Strata ลักษณะเหล่านี้เป็นลักษณะโครงสร้างที่ค่อนข้าง จะคงที่ส าหรับสังคมพืชแต่ละชนิด โครงสร้างทางด้านราบ.(Horizontal.structure).หมายถึง แบบแผนการกระจายของต้นไม้แต่ละต้นในแต่ละชนิดพันธุ์หรือของต้นไม้ทั้งหมดในสังคม และความมากมาย (Abundance) ของแต่ละชนิดพันธุ์ เป็นค่าที่ได้จากการนับในเชิงปริมาณ.ได้แก่


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above