Page 58

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

44 แต่มีความสูงมากกว่า 1 เมตร และเก็บข้อมูลกล้าไม้จากต้นไม้ที่มีความสูงน้อยกว่า 1 เมตร พบว่า ความหนาแน่นของลูกไม้ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราวแนวที่ 1 มีค่าประมาณ 264 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ที่มีความหนาแน่นสูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณ 262.67 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่.ถั่วขาว.โกงกางใบเล็ก.ตะบูนด า.โปรงขาว.และโพธิ์ทะเล.มีค่าประมาณ 57.33, 13.33, 5.33, 5.33, 4.00 และ.4.00 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ แนวที่ 2 มีค่าประมาณ 352 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ที่มี ความหนาแน่นสูงสุด.คือ.แสมทะเล.มีค่าประมาณ .338.67.ต้นต่อไร่.รองลงมา.คือ โกงกางใบใหญ่.โกงกางใบเล็ก.ตาตุ่มทะเล.ถั่วขาว.ฝาดดอกขาว.โปรงขาว.และโพธิ์ทะเล มีค่าประมาณ 81.33, 12.00, 8.00, 6.67, 4.00, 4.00 และ 4.00 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ ส่วนแนวที่ 3 มีค่าประมาณ 458.67 ต้นต่อไร่ ลูกไม้ที่มีความหนาแน่นสูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณ 337.33 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ถั่วขาว โกงกางใบเล็ก ตาตุ่มทะเล.โปรงแดง โพธิ์ทะเล โปรงขาว ฝาดดอกขาว และตะบูนด า มีค่าประมาณ 57.33, 22.67, 12.00, 10.67, 9.33, 4.00,.1.33,.1.33 และ.1.33.ต้นต่อไร่.ตามล าดับ.เมื่อพิจารณาความหนาแน่นของลูกไม้ ทั้ง 3 แนวการส ารวจแล้ว.พบว่า.ลูกไม้มีความหนาแน่นเฉลี่ย.422.67.ต้นต่อไร่.แสมทะเล มีความหนาแน่นของลูกไม้สูงสุด โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ย 312.89 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ถั่วขาว โกงกางใบเล็ก ตาตุ่มทะเล โปรงแดง โพธิ์ทะเล ตะบูนด า ฝาดดอกขาว และโปรงขาว มีค่าประมาณ 65.33,.14.22, 9.78, 9.33, 6.67, 4.00, 3.33, 2.67 และ 2.67 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ ด้านความหนาแน่นของกล้าไม้ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราวแนวที่.1 มีค่าประมาณ 509.00 ต้นต่อไร่ กล้าไม้ที่มีความหนาแน่นสูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณ 604.00.ต้นต่อไร่.รองลงมา.คือ.โกงกางใบใหญ่.โกงกางใบเล็ก.ถั่วขาว.และตะบูนด า มีค่าประมาณ 64.00,.4.00,.4.00 และ.2.67.ต้นต่อไร่ ตามล าดับ แนวที่ 2 มีค่าประมาณ 678.67 ต้นต่อไร่ กล้าไม้ที่มีความหนาแน่นสูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณ 201.33 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ฝาดดอกขาว ตะบูนด า และโพธิ์ทะเล มีค่าประมาณ 25.33, 2.67, 2.67 และ 1.33 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ ส่วนแนวที่ 3 มีค่าประมาณ 233.33 ต้นต่อไร่ กล้าที่มีความหนาแน่นสูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณ 318.67 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ถั่วขาว โกงกางใบเล็ก ตาตุ่มทะเล โพธิ์ทะเล และโปรงแดง มีค่าประมาณ 136.00, 18.67, 12.00, 10.67, 4.00 และ 1.33 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ เมื่อพิจารณาความหนาแน่นของกล้าไม้ทั้ง 3 แนวการส ารวจแล้ว พบว่า กล้าไม้มีความหนาแน่นเฉลี่ย 471.11 ต้นต่อไร่ แสมทะเล มีความหนาแน่นของกล้าไม้ สูงสุด โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ย 374.67 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ถั่วขาว ตาตุ่มทะเล โกงกางใบเล็ก ฝาดดอกขาว ตะบูนด า โพธิ์ทะเล และโปรงแดง มีค่าประมาณ 75.11, 11.33, 10.67, 8.00, 2.67, 2.67, 2.67 และ 1.33 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ (ดังตารางที่ 4.6)


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above