45 ตารางที่ 4.6 ความหนาแน่นของลูกไม้และกล้าไม้ ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราว.จ านวน.3.แนว ของป่าชายเลนบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ล าดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ความหนาแน่นของลูกไม้และกล้าไม้ (ต้นต่อไร่) แนวที่1 แนวที่2 แนวที่3 ลูกไม้ กล้าไม้ ลูกไม้ กล้าไม้ ลูกไม้ กล้าไม้ 1 แสมทะเล Avicennia marina 262.67 604.00 338.67 201.33 337.33 318.67 2 โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronata 57.33 64.00 81.33 25.33 57.33 136.00 3 โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata 5.33 4.00 12.00 - 12.00 12.00 4 ฝาดดอกขาว Lumnitzera racemosa Willd. - - 4.00 2.67 1.33 - 5 ถั่วขาว Bruguiera cylindrica 13.33 4.00 6.67 - 22.67 18.67 6 ตาตุ่มทะเล Excoecaria agallocha - - 8.00 - 10.67 10.67 7 ตะบูนด า Xylocarpus moluccensis 5.33 2.67 - 2.67 1.33 - 8 โปรงแดง Ceriops tagal - - 4.00 - 9.33 1.33 9 โพธิ์ทะเล Thespesia populnea (L.) 4.00 - 4.00 1.33 4.00 4.00 10 โปรงขาว Ceriops decandra 4.00 - - - 1.33 - รวม 264.00 509.00 352.00 678.67 458.67 233.33 เฉลี่ย (ลูกไม้) 50.29 57.33 45.73 เฉลี่ย (กล้าไม้) 135.73 46.67 71.62 4.5 พื้นท่หี น้าตัด (Basal Area) การศึกษาถึงความเด่นของพันธุ์ไม้ป่าชายเลน พิจารณาได้จากขนาดพื้นที่หน้าตัด ของพันธุ์ไม้ต่อพื้นที่ ซึ่งด าเนินการศึกษาความหนาแน่นของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง อกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก ผลการศึกษาพื้นที่หน้าตัดของพันธุ์ไม้ พบว่า ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราวแนวที่ 1 มีค่าประมาณ 0.0707 ตารางเมตรต่อไร่ พันธุ์ไม้ที่มี พื้นที่หน้าตัดสูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณ 0.0545 ตารางเมตรต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล และถั่วขาว มีค่าประมาณ 0.0149, 0.0006, 0.0004 และ 0.0003 ตารางเมตรต่อไร่ ตามล าดับ
ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above