Page 62

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

48 ตารางที่ 4.8 ร้อยละของความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์.ความถี่สัมพัทธ์.และดัชนี.- ความส าคัญของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราว.ของป่าชายเลนบางตราใหญ่.อุทยานสิ่งแวดล้อม.- นานาชาติสิรินธร (แนวที่ 1) ล าดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ความสัมพัทธ์ (ร้อยละ) ดัชนี ความ ส าคัญ ความ หนาแน่น ความ ถี่ ความ เด่น 1 แสมทะเล Avicennia marina 71.6578 57.1429 77.0896 205.8902 2 โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronata 26.2032 23.8095 21.0585 71.0712 3 โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata 1.0695 9.5238 0.8462 11.4395 4 โพธิ์ทะเล Thespesia populnea (L.) 0.5348 4.7619 0.5213 5.8180 5 ถั่วขาว Bruguiera cylindrica 0.5348 4.7619 0.4845 5.7811 รวม 100 100 100 300 ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราวแนวที่ 2 พันธุ์ไม้ที่มีความหนาแน่นสัมพัทธ์มากที่สุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณร้อยละ 53.8835 รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก ถั่วขาว โพธิ์ทะเล และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณร้อยละ 40.7767,.1.4563,.2.4272,.0.9709.และ 0.4854 ตามล าดับ พันธุ์ไม้ที่มีความเด่นสัมพัทธ์มากที่สุด แสมทะเล มีค่าประมาณร้อยละ 53.8835 รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ถั่วขาว โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณร้อยละ 60.4259,.35.4925,.1.6418,.1.2294,.0.9297.และ 0.2807 ตามล าดับ และพันธุ์ไม้ที่มีความถี่สัมพัทธ์มากที่สุด แสมทะเล มีค่าประมาณร้อยละ 46.1538.รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก ถั่วขาว โพธิ์ทะเล และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณร้อยละ 23.0769, 11.5385, 7.6923, 7.6923 และ 3.8462 ตามล าดับ เมื่อพิจารณาพันธุ์ไม้เด่นในแนวที่ 2 จากผลรวมของความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่น สัมพัทธ์ และความถี่สัมพัทธ์ ในรูปค่าดัชนีความส าคัญของพันธุ์ไม้แล้ว พบว่า พันธุ์ไม้ที่เป็น พันธุ์ไม้เด่นและมีค่าดัชนีความส าคัญสูงที่สุด คือ แสมทะเล มีค่าดัชนีความส าคัญ 160.4632 รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก ถั่วขาว และโพธิ์ทะเล มีค่าดัชนีความส าคัญ 99.3461, 14.2241, 11.7613 และ 9.5929 ตามล าดับ ส่วนชนิดพันธุ์ไม้ที่มีดัชนีความส าคัญน้อย คือ ฝาดดอกขาว โดยมีค่าดัชนีความส าคัญเท่ากับ 4.6123 ดังตารางที่ 4.9


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above