Page 64

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

50 มี ค่ า ดัช นี ค ว า ม ส า คัญ 84.1014,.19.5832,.15.7817,.13.8736.แ ล ะ .12.0891.ต า ม ล า ดับ ส่วนชนิดพันธุ์ไม้ที่มีดัชนีความส าคัญน้อย.คือ.โปรงแดง.โดยมีค่าดัชนีความส าคัญเท่ากับ 7.5255 (ดังตารางที่ 4.10) ตารางที่ 4.10 ร้อยละของความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความเด่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และดัชนี.- ความส าคัญของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราวของป่าชายเลนบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อม.- นานาชาติสิรินธร (แนวที่ 3) ล าดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ความสัมพัทธ์ (ร้อยละ) ดัชนี ความ ส าคัญ ความ หนาแน่น ความ ถี่ ความ เด่น 1 แสมทะเล Avicennia marina 55.0802 40.0000 51.9652 147.0455 2 โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronata 31.5508 20.0000 32.5506 84.1014 3 ถั่วขาว Bruguiera cylindrical 4.8128 10.0000 4.7704 19.5832 4 ตาตุ่มทะเล Excoecaria agallocha 3.2086 10.0000 2.5731 15.7817 5 โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata 2.1390 10.0000 1.7346 13.8736 6 โพธิ์ทะเล Thespesia populnea (L.) 1.0695 6.6667 4.3529 12.0891 7 โปรงแดง Ceriops tagal 2.1390 3.3333 2.0532 7.5255 รวม 100 100 100 300 เมื่อพิจารณาค่าดัชนีความส าคัญของพันธุ์ไม้ทั้ง 3 แนวการส ารวจในพื้นที่ป่าชายเลน บางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร พบว่า แสมทะเล ยังเป็นพันธุ์ไม้ที่มีความ เด่นที่สุดของพื้นที่ โดยมีค่าดัชนีความส าคัญเฉลี่ย 171.1333 รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ตาตุ่มทะเล.โกงกางใบเล็ก.ถั่วขาว.โพธิ์ทะเล.และโปรงแดง.มีค่าดัชนีความส าคัญ 84.8396, 15.7817,.13.1791,.12.3752,.9.1667.และ.7.5255.ตามล าดับ .ส่ วนชนิ ดพันธุ์ ไ ม้ ที่ มี ดัชนี .- ความส าคัญน้อย คือ ฝาดดอกขาว โดยมีค่าดัชนีความส าคัญเท่ากับ 4.6123


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above