Page 65

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

51 4.7 ดัชนีความหลากหลาย (Diversity index) สังคมของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตหลายชนิดแตกต่างกัน .บางสังคม ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตน้อยชนิด เช่น ในบริเวณแถบทะเลทราย เป็นต้น บางสังคม มีจ านวนของ ชนิดของสิ่งมีชีวิตอยู่มากมาย เช่น ป่าดิบชื้นในเขตร้อน (Tropical rain.forest) ซึ่งแต่ละสังคม จะมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์แตกต่างกันออกไป ซึ่งความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species.diversity).คือ.ความมากน้อยของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศหนึ่งๆ ส าหรับ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ช นิ ด พัน ธุ์ นั้ น ( Pielou.E.C..1969.:.231).ไ ด้ ใ ห้ ค าจ ากัดความไว้ว่า.ความหลากหลาย.(Diversity).นั้นประกอบด้วยส่วนส าคัญ.2.ส่วน.คือ 1).จ านวนทั้งหมดของชนิดพันธุ์ที่นักนิเวศวิทยาเรียกว่าความมากหลายของชนิดพันธุ์. (Species.richness).และ.2).ความสม่ าเสมอของชนิดพันธุ์.(Species.evenness).หรือความเท่า เทียมกัน (Equitability) ซึ่ง.Evenness หรือ.Equitability หมายถึง จ านวนต้นไม้ในแต่ละชนิด ซึ่งถ้ามีจ านวนใกล้เคียงกัน Evenness จะมีค่าสูง ตัวอย่างเช่น ถ้าสังคมหนึ่งประกอบด้วยพันธุ์ ไม้ 10 ชนิด ถ้าร้อยละ 90 ของต้นไม้ทั้งหมดเป็นไม้ชนิดเดียว และอีกร้อยละ 10 กระจายอยู่ใน ไม้อีก 9 ชนิด เช่นนี้ Evenness จะมีค่าต่ า หรือในกรณีที่แต่ละชนิดมีจ านวนไม้ร้อยละ 10 เท่ากันหมด ค่า Evenness จะมีค่าสูงสุด นักนิเวศส่วนใหญ่จะใช้การอธิบายค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ในรูปของดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์.(Index.of.species.diversity).หรือดัชนีความแผกผัน (Diversity.index) โดยดัชนีความแผกผันนั้นจะรวมค่าความมากหลายชนิดพันธุ์ (Species richness) และความสม่ าเสมอของชนิดพันธุ์ (Species.evenness) เข้าไว้ด้วยกัน ด้วยเหตุนี้ (Peet.R.K. 1974 :.46) จึงเรียกค่านี้ว่า Heterogeneity.index.แต่อย่างไรก็ตามความหมายของ ความหลากหลายนั้น (Hurlbert.S.H..1971.:.25) กล่าวว่า ความหมายของความหลากหลาย ที่ดีที่สุด คือ เป็นค าที่ไม่มีค าจ ากัดความ ทั้งนี้เนื่องจากมีปัญหามากมายในการให้ค าจ ากัด ความ ทั้งด้านความหมายของค าและเทคนิคในการศึกษา.Shannon.-.Wiener.'s index.(H’).เป็น การหาค่าดัชนีความหลากหลาย.(Diversity.index).โดยการน าค่าความมากหลายชนิดพันธุ์ (Species.richness) และความสม่ าเสมอของชนิดพันธุ์ (Species.evenness) มารวมเข้าไว้ด้วยกัน โดยถ้าจ านวนชนิดพันธุ์แต่ละชนิดมีจ านวนใกล้เคียงกันค่าดัชนีความหลากหลายชนิดพันธุ์ จะมีค่าสูง หากจ านวนชนิดพันธุ์ในแต่ละชนิดแตกต่างกันมากจะมีค่านี้ต่ า ดังนั้น ในกรณีที่ สังคมพืชสองสังคมมีจ านวนชนิดพันธุ์ไม้และชนิดพันธุ์ไม้เท่ากันจึงมีค่า .Shannon.- Wiener.'s.index.(H’) ไม่เท่ากัน แสดงถึงว่าชนิดพันธุ์ใดที่สามารถแก่งแย่งได้ดี จะสามารถ เจริญเติบโตและครอบคลุมพื้นที่ท าให้เพิ่มจ านวนมากขึ้น ในทางกลับกันหากชนิดพันธุ์ใด ที่ถูกแก่งแย่งก็จะเจริญเติบโตและแพร่กระจายได้น้อยลง


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above