53 ตารางที่ 4.11 ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้.(Shannon.-.Wiener's.index.:.H’) ที่มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้น.- ผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราว จ านวน 3 แนว ของป่าชายเลนบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ล าดับ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ แนวที่1 แนวที่2 แนวที่3 เฉลี่ย 1 โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronata 0.1524 0.1589 0.1581 0.1564 2 แสมทะเล Avicennia marina 0.1037 0.1447 0.1427 0.1304 3 ตาตุ่มทะเล Excoecaria agallocha - - 0.0479 0.0479 4 ถั่วขาว Bruguiera cylindrica 0.0121 0.0392 0.0634 0.0383 5 โปรงแดง Ceriops tagal - - 0.0357 0.0357 6 โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata 0.0211 0.0267 0.0357 0.0278 7 โพธิ์ทะเล Thespesia populnea (L.) 0.0121 0.0195 0.0211 0.0176 8 ฝาดดอกขาว Lumnitzera racemosa Willd. - 0.0112 - 0.0112 รวม 0.3015 0.4003 0.5046 0.4021 จ านวนต้นไม้ทั้งหมด(ต้นต่อไร่) 249.33 274.67 249.33 257.78 จ านวนชนิดพันธุ์ไม้(ชนิด) 5 6 7 8 4.8 ปริมาตรไม้ (Timber volume) การค านวณหาค่าปริมาตรไม้หรือปริมาณผลผลิต (Yield) ของต้นไม้ในรูปของท่อนไม้ ไม้ซุง หรือไม้แปรรูป โดยมีหน่วยในการวัดเป็นลูกบาศก์เมตร ของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่าน .- ศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก สามารถหาได้โดยใช้วิธี Allometric.equation.ตามการศึกษาของ (Kongsangchai J. 1988) ผลการศึกษาหาค่าปริมาตรไม้ พบว่า ในแปลงศึกษาแบบชั่วคราวแนวที่ 1 มีค่าประมาณ 2.6561 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ พันธุ์ไม้ที่มีปริมาตรไม้สูงสุด คือ โกงกางใบเล็ก มีค่าประมาณ 1.9475 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ รองลงมา คือ โพธิ์ทะเล.ถั่วขาว.โกงกางใบใหญ่ และแสมทะเล มีค่าประมาณ 0.6674, 0.0219, 0.0111 และ 0.0081 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ตามล าดับ แนวที่ 2
ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above