Page 66

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

52 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์เป็นค่าที่มีความสัมพันธ์กับความเด่ นของพันธุ์พืช ในสังคมนั้น จากการค านวณค่าความหลากหลายชนิดพันธุ์ของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป กรณีไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก โดยวิธี Shannon.-.Wiener.'s.index.(H’) พบว่า พื้นที่ป่าชายเลน บางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ในแนวที่ 1 ประกอบด้วยไม้ยืนต้นจ านวน 249.33.ต้นต่อไร่ จ านวนชนิดพันธุ์ไม้ 5 ชนิด มีค่าความหลากหลายชนิดพันธุ์เท่ากับ 0.3015 พันธุ์ไม้ที่มีค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์สูงสุด คือ แสมทะเล มีค่าประมาณ 0.1037 รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก.โพธิ์ทะเล และถั่วขาว มีค่าประมาณ 0.1524, 0.0211,.0.0121.และ 0.0121 ตามล าดับ แนวที่ 2 ประกอบด้วยไม้ยืนต้นจ านวน 274.67 ต้นต่อไร่ จ านวนชนิดพันธุ์ไม้ 6 ชนิด มีค่าประมาณ 0.4003 พันธุ์ไม้ที่มีค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ สูงสุด คือ โกงกางใบใหญ่ มีค่าประมาณ 0.1589 รองลงมา คือ แสมทะเล ถั่วขาว โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณ 0.1447,.0.0392,.0.0267,.0.0195.และ.0.0112 ตามล าดับ ส่วนแนวที่ 3 ประกอบด้วยไม้ยืนต้นจ านวน 249.33 ต้นต่อไร่ จ านวนชนิดพันธุ์ไม้ 7.ชนิด.มีค่าประมาณ.0.5046.พันธุ์ไม้ที่มีค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ สูงสุด.คือ โกงกางใบใหญ่ มีค่าประมาณ 0.1581 รองลงมา คือ แสมทะเล ถั่วขาว ตาตุ่มทะเล โกงกางใบเล็ก โปรงแดง และโพธิ์ทะเล มีค่าประมาณ 0.1427, 0.0634, 0.0479, 0.0357, 0.0357 และ 0.0211 ตามล าดับ เมื่อพิจารณาความหลากหลายของชนิดพันธุ์ทั้ง 3 แนวการส ารวจแล้ว พบว่าพันธุ์ไม้ มีค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์เฉลี่ย 0.4021 โดย โกงกางใบใหญ่ เป็นพันธุ์ไม้ที่มีค่า ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ เฉลี่ยสูงสุด ประมาณ 0.1564 รองลงมา คือ แสมทะเล ตาตุ่มทะเล ถั่วขาว โปรงแดง โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณ 0.1304,.0.0479,.0.0383,.0.0357,.0.0278,.0.0176.แ ล ะ .0.0112. ต า ม ล า ดับ .จ า ก ค่ า ดัช นี . - ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ที่ค านวณได้ พบว่า ป่าชายเลนบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อม นานาชาติสิรินธร มีจ านวนพันธุ์ไม้ไม่มากนัก แต่ละชนิดพันธุ์ไม้เด่น มีจ านวนต้นค่อนข้างมาก เมื่อเปรียบเทียบต่อขนาดพื้นที่.ทั้งนี้เนื่องจากการป่าชายเลนในบริเวณนี้เคยเป็นพื้นที่ ป่าเสื่อมโทรมที่มีการปลูกขึ้นใหม่จึงท าให้มีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ค่อนข้างน้อย และการขึ้นอยู่ของพันธุ์ไม้ตามสภาพพื้นที่และสภาพแวดล้อมมีความแตกต่างกัน ท าให้พันธุ์ไม้ ที่ข้นึ ได้ในแต่ละสภาพพื้นที่มชี นิดและจ านวนต่างกัน (ดังตารางที่ 4.11)


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above