56 เรือนยอด ร้อยละ.74.92,.83.46.และ.76.23.ของพื้นที่แปลงส ารวจ ตามล าดับ คิดเป็น การปกคลุมเรือนยอดทั้ง 3 แนว เฉลี่ยร้อยละ 78.2.ของพื้นที่แปลงส ารวจ การปกคลุมของ เรือนยอดในป่าชายเลนบริเวณนี้มีค่าสูง เมื่อเปรียบเทียบกับป่าชายเลนในบริเวณอื่นๆ เช่น ป่าชายเลนบริเวณพื้นที่โครงการจัดการน้ าเสีย จังหวัดสมุทรปราการ มีการปกคลุมเรือนยอด ร้อยละ 81.64 (อิสริยา วุฒิสินธุ์. 2544 :.47) และป่าชายเลนในสวนศึกษาธรรมชาติวิทยาป่าชายเลน จังหวัดพังงา มีการปกคลุมของเรือนยอดร้อยละ 56.86 (ปฏิมาพร ผ่องสุขสวัสดิ์. 2545) ทั้งนี้ เนื่องจากป่าชายเลนในพื้นที่ศึกษาประกอบด้วยไม้ยืนต้นขึ้นอยู่เป็นจ านวนมาก มีการปกคลุม เรือนยอดแบบต่อเนื่อง โดยจะพบไม้รุ่นและลูกไม้ขึ้นแซมอยู่ตามแนวช่องว่างระหว่างต้นไม้ที่มี ขนาดใหญ่กว่า ท าให้การปกคลุมเรือนยอดครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 74.35 ของพื้นที่ ศกึ ษา (ดังภาพที่ 4.1, ภาพที ่4.2 และ ภาพที ่4.3 (ข)) ตามล าดับ
ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above