Page 77

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

63 มีความหนาแน่นของกล้าไม้สูงสุด โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ย 374.67 ต้นต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ถั่วขาว ตาตุ่มทะเล โกงกางใบเล็ก ฝาดดอกขาว ตะบูนด า โพธิ์ทะเล และโปรงแดง มีค่าประมาณ 75.11, 11.33, 10.67, 8.00, 2.67, 2.67, 2.67 และ 1.33 ต้นต่อไร่ ตามล าดับ ความหนาแน่นของต้นไม้ในพื้นที่ป่าชายเลนที่พบมีค่าเฉลี่ย 257.78 ต้นต่อไร่ ความเด่นของพรรณไม้ พิจารณาจากขนาดพื้นที่หน้าตัดต้นไม้ต่อพื้นที่ของไม้ใหญ่ ใน 3 แนวการส ารวจ พบว่า มีพื้นที่หน้าตัดเฉลี่ย 0.0690 ตารางเมตรต่อไร่ โดยที่ แสมทะเล เป็นพันธุ์ไม้ที่มีพื้นที่หน้าตัดสูงสุด มีพื้นที่หน้าตัดเฉลี่ย 0.0438 ตารางเมตรต่อไร่ รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่.ตาตุ่มทะเล.ถั่วขาว.โปรงแดง.โพธิ์ทะเล.โกงกางใบเล็ก.และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณ 0.0205, 0.0017, 0.0015, 0.0013, 0.0013, 0.0009 และ 0.0002 ตารางเมตรต่อไร่ ตามล าดับ ค่าดัชนีความส าคัญ พรรณพืชเด่นและมีความส าคัญในพื้นที่ คือ แสมทะเล มีค่าดัชนีความส าคัญเฉลี่ย 171.133 รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่.ตาตุ่มทะเล.โกงกางใบเล็ก ถั่วขาว.โพธิ์ทะเล.และโปรงแดง.มีค่าดัชนีความส าคัญ.84.8396,.15.7817,.13.1791,.12.3752, 9.1667 และ.7.5255.ตามล าดับ ส่วนชนิดพันธุ์ไม้ที่มีดรรชนีความส าคัญน้อยที่สุด คือ ฝาดดอกขาว โดยมีค่าดัชนีความส าคัญเท่ากับ 4.6123 ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ วิเคราะห์โดย Shannon.-.Wiener 's index (H’) ซึ่งใน พื้นที่ที่ประกอบด้วยไม้ยืนต้น 257.78 ต้นต่อไร่ ชนิดพรรณไม้ 8 ชนิด พบว่า มีค่าความ หลากหลายของชนิดพันธุ์เท่ากับ 0.4021 โดยที่ โกงกางใบใหญ่ เป็นพันธุ์ไม้ที่มีค่าความ หลากหลายของชนิดพันธุ์ เฉลี่ยสูงสุดประมาณ 0.1564 รองลงมา คือ แสมทะเล ตาตุ่มทะเล ถั่วขาว โปรงแดง โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณ 0.1304,.0.0479, 0.0383, 0.0357, 0.0278, 0.0176 และ 0.0112 ตามล าดับ ปริมาตรไม้ โดยใช้สมการของ Kongsangchai.j..(1988) ในการวัดซึ่งวัดจาก ไม้ใหญ่ ใน 3 แนวการส ารวจ พบว่า มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 2.7570 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ โดยที่ แสมทะเล เป็นพันธุ์ไม้ที่มีปริมาตรไม้สูงสุด มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 0.9602 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ หรือ คิดเป็นร้อยละ 34.83 ของปริมาตรไม้ทั้งหมด.รองลงมา.คือ.โกงกางใบใหญ่.โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล.ตาตุ่มทะเล.ถั่วขาว.โปรงแดง.และฝาดดอกขาว.มีค่าประมาณ.0.7642,.0.6731, .0.2699,.0.0680,.0.0590,.0.0211.และ.0.0029 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ตามล าดับ หรือคิดเป็น ร้อยละ 27.72, 24.41, 9.79, 2.47, 2.14, 0.77 และ 0.11 ของปริมาตรไม้ทั้งหมด ตามล าดับ การแบ่งชั้นความสูงตามแนวดิ่ง โดยใช้ Profile.diagram จะมีความสอดคล้องกับวิธี Crown projection diagram พบว่า ป่าชายเลนพื้นที่บางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ.- สิรินธร ใน 3 แนวการส ารวจ มีความสูงเฉลี่ย.6.22 เมตร.มีการแบ่งชั้นเรือนยอดสองชั้นเรือนยอด


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above