Page 81

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

67 0.9602 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 34.83 ของปริมาตรไม้ทั้งหมด รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล ตาตุ่มทะเล ถั่วขาว โปรงแดง และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณ 0.7642,.0.6731,.0.2699,.0.0680,.0.0590,.0.0211 และ 0.0029 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ตามล าดับ หรือคิดเป็นร้อยละ.27.72,.24.41,.9.79,.2.47,.2.14,.0.77.และ.0.11.ของปริมาตรไม้ ทั้งหมด ตามล าดับ เมื่อเปรียบเทียบปริมาตรไม้ป่าชายเลนในพืน้ ที่ท าการวางแปลงส ารวจและป่าชายเลน ในพื้นที่อื่นๆ แล้ว พบว่า ป่าชายเลนในพื้นที่นี้ มีปริมาตรไม้น้อยกว่าป่าชายเลนในบริเวณอื่นๆ เนื่องจากป่าชายเลนในบริเวณนี้ประกอบด้วยไม้ยืนต้นที่มีขนาด เล็ก ซึ่งมีการกระจาย อย่างหนาแน่นและสม่ าเสมอในพื้นที่ แสดงให้เห็นว่าในอนาคตป่าชายเลนบริเวณนี้จะมีสภาพ เป็นป่าธรรมชาติและมีความอุดมสมบูรณ์สูง 5.2.2 การสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติ เนื่องจากพื้นที่ป่าชายเลนคลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร มีความหนาแน่นของลูกไม้และกล้าไม้ ค่อนข้างมาก การทดแทนของชนิดพันธุ์ไม้จึงมี ค่อนข้างมาก 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1.เนื่องจากการศกึ ษาวิจัยในครั้งน้ ี ท าการศึกษาเฉพาะไม้ยืนต้นที่มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางเพียงอก ตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตรขึ้นไป ลูกไม้และกล้าไม้เท่านั้น ดังนั้นหากมีการศึกษา ในครั้งต่อไปควรศึกษาถึงพรรณไม้พื้นล่าง เช่น เถาวัลย์ เอพิไฟล์ ความหลากหลายของชนิด พันธุ์ต่างๆ เช่น ปาล์ม สาหร่าย สัตว์ในพื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น ตลอดจนการศึกษาคุณสมบัติ ของดิน น้ า ปริมาณแสงสว่าง สภาพภูมิอากาศ และลักษณะทางธรณีวิทยา ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ จะเป็นแหล่งเรียนรู้และประโยชน์หลายๆ ด้าน แก่ผู้ที่สนใจศึกษาวิจัยด้านป่าชายเลน 5.3.2.ในการศึกษาควรท าการศึกษาพื้นที่ป่าชายเลนบริเวณใกล้เคียงที่มีการบุกรุก จากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ด้วย เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบผลกระทบกับข้อมูลป่าชายเลน บริเวณที่ท าการศึกษาในอนาคตและในการศึกษาควรท าการเก็บข้อมูลต่างๆ โดยใช้แปลงศึกษา แบบถาวร เพื่อได้ข้อมูลที่ต่อเนื่องและถูกต้องมากที่สุด 5.3.3.จากผลการศึกษาสามารถน าไปประกอบในการจัดการป่าชายเลนแห่งนี้ คือ ควรน าพันธุ์ไม้ป่าชายเลนชนิดอื่นๆ ที่สามารถเจริญเติบโตได้ในพื้นที่ลักษณะใกล้เคียงกับพื้นที่ บริเวณนี้ท าการปลูกเสริม เพื่อเพิ่มความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ต่างๆ ให้กับพื้นที่บริเวณนี้


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above