Page 80

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

66 ให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก) เท่ากับ 5.24 เซนติเมตร และ ความโตด้านความสูงเฉลี่ยของต้นไม้เท่ากับ 6.22 เมตร การศึกษาค่าดัชนีความส าคัญ (IVI) เป็นค่าที่แสดงถึงความส าคัญทางนิเวศวิทยา (Ecology.importance) ของพรรณพืชชนิดใดชนิดหนึ่งต่อความส าเร็จในการครอบครองพื้นที่ นั้นๆ พิจารณาจากผลรวมของค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ และความเด่น สัมพัทธ์ มีค่าตั้งแต่ 0.-.300 พรรณพืชเด่นและมีความส าคัญในพื้นที่ คือ แสมทะเล มีค่าดัชนี ความส าคัญเฉลี่ย 171.133 รองลงมา คือ โกงกางใบใหญ่ ตาตุ่มทะเล โกงกางใบเล็ก ถั่วขาว โพธิ์ทะเล .และโปรงแดง .มีค่าดัชนีความส าคัญ .84.8396,.15.7817,.13.1791,.12.3752, 9.1667 และ.7.5255.ตามล าดับ ส่วนชนิดพันธุ์ไม้ที่มีดัชนีความส าคัญน้อย คือ ฝาดดอกขาว โดยมีค่าดัชนีความส าคัญเท่ากับ.4.6123.สาเหตุที่ท าให้มีค่าดัชนีความส าคัญมากเนื่องจาก ต้นไม้มีจ านวนต้นที่มาก พื้นที่หน้าตัดจึงมีค่ามาก ค่าความเด่นจึงมากตาม ค่าดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ โดยใช้วิธีการของ Shanon.-.Wiener index (H’) ด้วยการน าค่าความร่ ารวยของชนิดพันธุ์หรือความมากหลายชนิดพันธุ์.(Species.richness) และความสม่ าเสมอของชนิดพันธุ์ (Species.evenness) มารวมเข้าไว้ด้วยกัน.ซึ่งในพื้นที่ที่ ประกอบด้วยไม้ยืนต้น 257.78 ต้นต่อไร่ ชนิดพรรณไม้ 8 ชนิด พบว่ามีค่าความหลากหลาย ของชนิดพันธุ์เท่ากับ 0.4021 โกงกางใบใหญ่ เป็นพันธุ์ไม้ที่มีค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ เฉลี่ยสูงสุด โดยมีค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์เฉลี่ย 0.1564 รองลงมา คือ แสมทะเล ตาตุ่มทะเล ถั่วขาว โปรงแดง โกงกางใบเล็ก โพธิ์ทะเล และฝาดดอกขาว มีค่าประมาณ 0.1304, 0.0479, 0.0383, 0.0357, 0.0278, 0.0176 และ 0.0112 ตามล าดับ ค่าดัชนีความ หลากหลายของชนิดพันธุ์ จะเป็นค่าที่มีความสัมพันธ์กับความเด่นของพรรณพืชกล่าวคือ ในยุคการทดแทนของสังคมพืชยุคแรกๆ ของการทดแทนจะพบพรรณพืชเพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้น และต่อมาจะมีการเพิ่มชนิดข้นึ เร่อื ยๆ จนเมื่อถึงยุคที่สังคมพืชค่อนขา้ งมเี สถียรภาพ หรือไม่ค่อย มีการเปลี่ยนแปลงแล้ว จะปรากฏว่ามีพืชเพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้นที่เป็นพืชเด่น เมื่อพืชเด่นเกิดขึ้น จ านวนพืชรองก็จะลดลงไป ซึ่งเมื่อมีจ านวนชนิดลดลงก็จะท าให้ค่าความหลากหลายของชนิด พันธุ์ลดลงไปด้วย ในพื้นที่ที่ศึกษานี้อาจกล่าวได้ อย่างไรก็ตามปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ จะเป็น ตัวก าหนดชนิดและจ านวนของพรรณไม้ที่พบในป่าแต่ละชนิด (กรมส่งเสริมคุณภาพ.- สิ่งแวดล้อม. 2541) ปริมาตรไม้ โดยใช้สมการของ Kongsangchai.j..(1988) ของต้นไม้ที่มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่.4.0.เซนติเมตร.ขึ้นไป.(กรณี.ไม้โกงกางให้วัดเส้นผ่านศูนย์กลาง ที่ระดับ 20 เซนติเมตร เหนือคอราก) ใน 3 แนวการส ารวจ พบว่า มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 2.7570 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ โดยที่ แสมทะเล เป็นพันธุ์ไม้ที่มีปริมาตรไม้สูงสุด มีปริมาตรไม้เฉลี่ย


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above