Page 25

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

11 เป็นตัวการส าคัญในการท าให้การตกตะกอนบริเวณชายฝั่งหรือเกิดหาดทรายตามบริเวณ ปากอ่าวและพื้นที่เหล่านี้จะมีพันธุ์ไม้ในป่าชายเลนขึ้นอยู่ในที่สุด นอกจากนี้คลื่นและกระแสน้ า ยังมีส่วนในการด ารงชีวิตของสัตว์น้ าในทะเล ด้วยการพัดพาธาตุอาหารจากป่าชายเลน ไปสู่ชายฝั่งและทะเล ซึ่งเป็นประโยชน์ตอ่ สัตว์น า้ (สนิท อักษรแก้ว. 2542 : 41.-.42) 2.4.6.ความเค็มของน้ า.(Water.salinity)”และความเค็มของน้ าในดิน.(Soil.water salinity) เป็นปัจจัยส าคัญในการเจริญเติบโต การรอดตาย และการแบ่งเขตการขึ้นอยู่ของพันธุ์ไม้ ในบริเวณ ป่าชายเลน ป่าชายเลนเจริญเติบโตได้ดีบริเวณพื้นที่ที่มีค่าความเค็มของน้ า.10.-.30 ส่วนในพันส่วน (Aksornkoae.S..et.al..1989.:.46) 2.4.7.ออกซิเจนละลายน้ า.(Dissolved.oxygen).ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ า มีบทบาทส าคัญต่อการด ารงชีวิตของพืชและสัตว์น้ าในป่าชายเลน โดยเฉพาะการหายใจ ปริมาณออกซิเจนจะละลายในน้ าในบริเวณป่าชายเลนจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอด 24 ชั่วโมง โดยมีค่าต่ าสุดในเวลากลางคืนและมีปริมาณสูงสุดในเวลากลางวันในบริเวณป่าชายเลน จะมีการให้ออกซิเจนละลายน้ ามากเนื่องจากบริเวณดังกล่าวนี้มีสิ่งมีชีวิตอยู่เป็นจ านวนมาก รวมทั้งพืชและสัตว์ไม้ในป่าชายเลน โดยเฉพาะพวกที่มีรากหายใจ.(Pneumatophores).ต้องอาศัย ออกซิเจนละลายน้ าช่วยในการหายใจอย่างมาก แต่สัตว์ในป่าชายเลนต้องการออกซิเจนที่ละลาย ในน้ าไม่มากนัก Aksornkoae.S.,.Wattayakorn.G..and.Kaitpraneet.W..(1978.:.47).ก ล่ า ว ว่ า ป ริ ม า ณ ออกซิเจนละลายน้ าบริเวณป่าชายเลน จะแตกต่างกันตามเขตการขึ้นของพันธุ์ไม้และปริมาณ ออกซิเจนละลายน้ าจะเป็นตัวก าหนดการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของสัตว์น้ า ซึ่งมีผลต่อ การย่อยสลายของเศษใบไม้ 2.4.8.ดิน (Soil).ดินในป่าชายเลนเป็นดินที่เกิดจากการทับถมของตะกอนที่ไหลมาตาม น้ าจากแหล่งต่างๆ และการตกตะกอนของสารแขวนลอยในมวลน้ า ตลอดจนการสลายตัว ของอินทรีย์ตามช่วงระยะเวลาที่ทับถมต่างๆ กัน ลักษณะของดินเป็นปัจจัยที่ส าคัญอีกประการ หนึ่งที่มีส่วนในการจ ากัดการเจริญเติบโตและการกระจายของพันธุ์ไม้ในป่าชายเลนในเขต ของพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่ต่างชนิดกันจะพบว่าคุณสมบัติของดินจะมีความแตกต่างกันทั้งทางด้าน กายภาพและเคมี Aksornkoae.S.,.Wattayakorn.G..and.Kaitpraneet.W..( 1978.:.49). ไ ด้ ศึ ก ษ า .พ บ ว่ า ไม้โกงกางใบใหญ่ขึ้นได้ดีในดินเลนที่ค่อนข้างลึก ไม้โกงกางและไม้แสมขึ้นได้ดีในดินที่มี pH ประมาณ 6.6.-.6.2 ตามล าดับ 2.4.9 ธาตุอาหาร (Nutriens) เฉลิมชัย โชติกมาศ (2539 : 10.-.11) กล่าวว่าธาตุอาหาร เป็นปัจจัยส าคัญในการรักษา สมดุลของระบบนิเวศป่าชายเลน ธาตุอาหารในป่าชายเลน


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above