Page 27

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

13 2.6 ชนิดพันธุ์ไม้ในป่าชายเลน (Floristic composition) Santisuk.T..(1983).รายงานว่าพันธุ์ไม้ป่าชายเลนมีทั้งหมด 35 วงศ์ 53 สกุล และ 74 ชนิด ส าหรับประเทศไทยพันธุ์ไม้ที่เด่นและส าคัญ คือ พันธุ์ไม้ในวงศ์.Rhizophoraceae ได้แก่ ไม้โกงกาง.(Rhizophora.sp.).ไม้โปรง.(Ceriops.sp.).และไม้ถั่ว.(Bruguiera.sp.).นอกจากนี้ก็มีไม้ใน วงศ์ Avicenniaceae.ได้แก่.ไม้แสมชนิดต่างๆ.(Avicennia.sp.).ไม้ในวงศ์.Sonneratiaceae.ได้แก่ ไม้ ล าพูและไม้ ล าแพน.(Sonneratia.sp.).และไม้ ในวงศ์ .Meleaceae.ได้ แก่ .ไม้ ตะบูน.ตะบัน (Xylocarpus.sp.).เป็นต้น.ป่าชายเลนประกอบด้วยพืชหลายชนิด.ได้แก่.ไม้ยืนต้น.ไม้ล้มลุก.ไม้พุ่ม เถาวัลย์ เอพิไฟท์ จนถึงสาหร่ายทะเล และแพลงก์ตอนพืช พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบ 2.7 การแบ่งโซนของพันธุ์ไม้ป่าชายเลน (Zonation of mangroves) การที่ป่าชายเลนมีการแบ่งเป็นโซนนั้น เป็นผลมาจากระบบรากที่แตกต่างกันและ การเจริญเติบโตของกล้าไม้เป็นผลมาจากการแก่งแย่ง โดยต้นไม้ขึ้นอยู่ได้ในช่วงที่น้ าทะเล ขึ้นสูงสุดและลงต่ าสุด การศึกษาการแบ่งโซนของพันธุ์ไม้ป่าชายเลน (Macnae.W..(1968.:.158) ได้สรุปไว้ 3 วิธี คือ วิธีของ Watson.J.G..(1928.:.275) ใช้ความถี่ของการท่วมถึงของพื้นที่ของน้ าทะเล (Frequency of inundation) เป็นตัวก าหนดโซนพันธุ์ไม้ วิธีของ De Han T.H. (1931 : 39.-.76) ใช้ความเค็มของน้ าในดิน (Salinity of soil water) และวิธีของ (Walter.H..and.Steiner.M..1936 : 366) ใช้ไม้เด่นเป็นตัวก าหนดในการแบ่งโซน วิธีที่หนึ่ง คือ วิธีของ Watson.J.G..(1928.:.275).ได้ศึกษาป่าชายเลนในประเทศ มาเลเซีย โดยใช้ความถี่ของการท่วมถึงของน า้ ทะเลและได้แบ่งป่าชายเลนออกเป็น 5 โซน ดังนี ้ โซนที่ 1 ชนิดพันธุ์ไม้ที่ขึ้นได้ในบริเวณพื้นที่ป่าชายเลนท่วมถึงสูงสุด.(High.tide) โดยจะพบแต่ไม้โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) เท่านั้นที่ข้นึ อยู่ได้ โซนที่ 2 บริเวณพื้นที่ที่น้ าทะเลท่วมถึงสูงปานกลาง (Medium high tide) จะพบ กลุ่มไม้แสม (Avicennia sp.) โซนที่ 3 บริเวณพื้นที่ที่มีน้ าทะเลท่วมถึงสูงธรรมดา (Normal high tide) จะพบไม้ หลากชนิดเจริญเติบโตได้ดี และมีไม้โกงกาง Rhizophora sp. เป็นไม้เด่น โซนที่ 4 บริเวณพื้นที่ที่มีน้ าทะเลท่วมถึงเป็นลักษณะน้ าเกิด (Spring tide) จะมีไม้ ขึ้นได้แก่ Bruguiera gymnorhiza และ Bruguiera cylindrica แต่ไม้สกุล Rhizophora spp. ขึ้นไม่ได้ เนื่องจากพื้นที่แห้งเกินไป


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above