Page 28

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

14 โซนที ่5 บริเวณพืน้ ที่ที่มีน้ าทะเลท่วมถึงในเวลาที่เท่ากันของกลางวันและกลางคืน และนอกเหนือจากวิธีที่ได้กล่าว มาแล้ว บริเวณพื้นที่นั้นจะมีไม้พังกาหัวสุมดอกแดง (Bruguiera..gymnorhiza).เป็นไม้เด่นและมีไม้โกงกางใบเล็ก .(Rhizophora..apiculata).และ ไม้ตะบูนขาว.(Xylocarpus..granatus) วิธีที่สอง คือ.วิธีของ.De.Han.T.H..(1931.:.88).ได้แบ่งโซนของป่าชายเลน.โดยใช้ ความเค็มของน้ าในดิน.(Salinity.of.soil.water).และการท่วมของกระแสน้ าทะเล.(Tidal.floating) เป็นปัจจัยในการแบ่งโซน โดยแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ประเภทที่ 1 พื้นที่ที่เป็นน้ ากร่อยและน้ าเค็มที่กระแสน้ าทะเลท่วมถึง โดยมี ความเค็มของน้ าในดินระหว่างร้อยละ 10.-.30 และได้แบ่งพื้นที่ป่าชายเลนออกได้ดังนี้ 1) พื้นที่ที่ทะเลท่วมถึง วันละ 1.-.2 ครั้ง เป็นเวลา 20 วันต่อเดือน.2).พื้นที่ที่ทะเลท่วมถึง เป็นจ านวน 10.-.19 ครั้งต่อเดือน.3).พื้นที่ที่ทะเลท่วมถึง น้อยกว่า 9 ครั้งต่อเดือน 4).พื้นที่ ที่ทะเลท่วมถึงน้อยมากในระยะเวลาหนึ่งปี ประเภทที่ 2 พื้นที่ที่เป็นน้ าจืดและน้ ากร่อยโดยมีความเค็มประมาณร้อยละ 0.-.10 โดยแบ่งออกเป็น (1) พืน้ ที่ที่น า้ ทะเลท่วมถึงน้อยมาก (2) พืน้ ที่ที่มนี ้ าทะเลท่วมถึงทุกฤดูกาล วิธีที่สาม.วิธีของ.Walter.H..and.Steiner.M..(1936 : 372).ได้ศึกษาป่าชายเลนที่ ป่าแทนก้า (Tanga).ในอัฟริกาตะวันออก.โดยใช้ไม้เด่นในการแบ่งโซน.มีการศึกษาเพิ่มเติมโดย Macnae W. and Kalk M. (1962 : 11.-.23) ได้ท าการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อน าไปใช้ในการ แบ่งพื้นที่ป่าชายเลนและได้แบ่งพื้นที่ออกได้ ดังนี้ 1) พื้นที่น้ าทะเลท่วมถึงติดกับแผ่นดินใหญ่ 2).เขตพื้นที่ที่มีไม้โปรง.(Ceriops.sp.).ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น.3).เขตพื้นที่ที่มีไม้ถั่ว.(Bruguiera.sp) เป็นไม้เด่น.4).เขตพื้นที่ที่มีไม้โกงกาง.(Rhizophora.sp.).เป็นไม้เด่น.5).เขตพื้นที่ที่มีไม้แสม (Avicennia.sp.) เป็นไม้เด่น Chapman.V.J..(1970.:.58.-.61).ได้ศึกษาการแบ่งโซนของป่าชายเลนในออสเตรเลีย สรุปได้ว่าการแบ่งโซนของป่าชายเลนในประเทศต่างๆ จะแตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ ทางฟิสิกส์และเคมีของดินและน้ า ซึ่งการแบ่งโซนของพันธุ์ไม้ในประเทศออสเตรเลียมีดังนี้ โซนนอกสุด ได้แก่ ไม้แสม (Avicennia.sp.) ถัดเข้าไปเป็นไม้โกงกาง.(Rhizophora.sp.) โซนต่อไป เป็นไม้ประสัก.(Bruguiera.sp.).ถัดเข้าไปเป็นกลุ่มไม้โปรง.(Ceriops.sp.).กลุ่มไม้ตะบูน.(Xylocarpus.sp.) กลุ่มไม้เสม็ด (Malaleuca.sp.) และโซนสุดท้ายเป็นไม้ยูคาลิปตัส


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above