Page 34

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

20 (Fisher.R.A.,.Corbet.A.S..and.Williams.C.B..1943),.Simpson’s.index.(Simpson.E.H.1949), Shannon.-.Wiener’s..index.(Shannon.C.E..and.Weaver.W..1949.:.255.-.261).วิธีการ.Shannon.- Wiener.index.(H’).เป็นดัชนีที่ใช้การศึกษาความหลากหลายของชนิดพันธุ์.ใช้วัดระดับความ ไม่แน่นอนในการพยากรณ์ของการสุ่มตัวอย่าง ค่าความไม่แน่นอนจะขึ้นอยู่กับจ านวนชนิด ที่เพิ่มขึ้นและความสม่ าเสมอของชนิดพันธุ์ ค่า.H’.มีคุณสมบัติ 2 ประการ.คือ.H’.=.0.ถ้ามีชนิดพันธุ์ เพียงชนิดเดียว.และ.H’ จะมีค่าสูงสุด เมื่อจ านวนชนิดพันธุ์ในแต่ละชนิดเท่ากัน ซึ่งเหตุการณ์ เชน่ นี้จะแสดงถึงสภาพป่าที่มีการกระจายของชนิดพันธุ์อย่างสม ่าเสมอ และแสดงค่าสูงสุดเมื่อ จ านวนชนิดพันธุ์เท่ากับจ านวนต้นในแปลงตัวอย่าง 2.10.5.ดัชนีความส าคัญ.(Importance.value.index,.IVI).เป็นค่าที่แสดงถึงความส าเร็จ ทางนิ เวศวิ ทยาของพรรณพื ชชนิ ดใดชนิ ดหนึ่งในการครอบครองพื้นที่นั้ น ก ล่ าว คื อ พรรณพืชชนิดใดที่มีค่าดัชนีความส าคัญสูงกว่า แสดงว่าพรรณพืชชนิดนั้นเป็นพรรณพืชเด่น และมีความส าคัญใ นพื้นที่นั้น .ค่าดัชนีความส าคัญเป็นก ารรวมค่าความถี่สัมพัท ธ์ ความหนาแน่นสัมพัทธ์และความเด่นสัมพัทธ์เข้าด้วยกัน.(Cottam.C..1949.:.273).ค่าดัชนี ความส าคัญนี้สามารถผันกลับให้เป็นค่าเปอร์เซ็นต์ความส าคัญ.(Importance.percentage) โดยแบ่งเป็นค่าทั้งสามดังกล่าวข้างต้น ค่าดัชนีความส าคัญของชนิดพรรณพืชชนิดหนึ่งๆ จะมีค่าตั้งแต่ 0.-.300 (สมศักดิ์ สุขวงศ์..2520.:.44) ในการพิจารณาว่าพรรณพืชชนิดใด เป็นไม้เด่นนั้น นอกจากจะหาได้จากค่าดัชนีความส าคัญดังกล่าวแล้ว ยังสามารถหาได้จาก พื้นที่หน้าตัดของต้นไม้ต่อพื้นที่แปลงตัวอย่าง โดยท าการค านวณออกมาในรูปของร้อยละ 2.10.6 ผลผลิต (Yield) ผลผลิต มีความหมาย 2 ด้าน คือ ผลผลิตทางเศรษฐกิจ (Economic.yield).เป็นผลผลิตที่อยู่ในรูปของไม้ท่อน.ไม้ซุงหรือไม้แปรรูป.ท าการศึกษา โดยการวัดในรูปจ านวนท่อน ความยาวหรือปริมาตร อีกด้านหนึ่ง คือ ผลผลิตในทางชีววิทยา (Biological yield) เป็นผลผลิตที่เกิดจากขบวนการสังเคราะห์แสงและการดูดซึมธาตุอาหาร ไปเสริมสร้างให้เกิดอินทรียวัตถุในส่วนต่างๆ ของพืช การประมาณผลผลิตในทางชีววิทยานั้น นิยมวัดในรูปของมวลชีวภาพที่เวลาใดเวลาหนึ่งต่อหน่วยพื้นที่ (พงศ์ศักดิ์ สหุนาฬุ. 2538 : 38) ปริมาณทั้งหมดของหมู่ไม้ ณ เวลาที่ก าหนดใดๆ หมายถึง ผลผลิตของหมู่ไม้นั้นๆ โดยที่ ตลอดระยะเวลาของการเจริญเติบโตตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงอายุที่ก าหนดไม่ได้มีการตัดสางขยาย ระยะไม้ออกไป ผลผลิตของหมู่ไม้ที่เกิดขึ้นนั้นจะมีปริมาณผันแปรไปตามปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ชนิดไม้ (Species) องค์ประกอบของหมู่ไม้ (Composition) คุณภาพของท้องที่ (Site.quality) ชั้นอายุ (Age.class) ความหนาแน่น.(Density).การรบกวนจากภายนอก (Extremes.disturbance) และการปฏิบัติทางวนวัฒนวิทยา (Silvicultural treatment) (Toumey J.W. 1947 : 110) การศึกษาผลผลิตด้านปริมาตรไม้ ปริมาตรไม้ (Timber..volume) หมายถึง ขนาดหรือ


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above