Page 36

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

22 อ่าวสวี อ าเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร พบว่า ป่ามีก าลังการผลิต 2.34 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ฝ่ายจัดการป่าชายเลน กองการจัดการป่าไม้ กรมป่าไม้ (2535) ได้ศึกษาปริมาณของไม้ป่าชายเลน บริเวณท่าฉัตรไชย อ าเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต พบว่า มีจ านวนปริมาตรไม้ประมาณ.12,437 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์.วิจารณ์ มีผล (2537).ได้ศึกษาปริมาตรของไม้ป่าชายเลนท้องที่ อ าเภอเมือง.จังหวัดระนอง พบว่า มีปริมาตรไม้ 48.45 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ ส่วนแปลง ควบคุมที่มีสภาพตามธรรมชาติมีปริมาตรไม้ 74.80 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์.โสภณ หะวานนท์ และคณะ.(2538).ได้ศึกษาป่าชายเลนที่หมดอายุการสัมปทานป่าไม้ จังหวัดระนอง พบว่า มีปริมาตรไม้ 36.93 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์.เฉลิมชัย.โชติกมาศ.(2539).ได้ศึกษาปริมาตร ของไม้ป่าชายเลนท้องที่อ าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี พบว่า มีจ านวนปริมาตรไม้ ประมาณ.75.3.ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์.ภิเศก.สาลีกุล (2540) ได้ศึกษาป่าชายเลน กลางคลองขนอม นครศรีธรรมราช พบว่า มีปริมาตรไม้เท่ากับ 138.71.ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ นิพิท ศรีสุวรรณ และคณะ (2542).ได้ศึกษาโครงสร้างของป่าชายเลนบริเวณทะเลสาบสงขลา ตอนใน พบว่า มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 127.6 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ สนใจ หะวานนท์ และคณะ (2538) ได้ศึกษาปริมาตรไม้ป่าชายเลนท้องที่จังหวัดสมุทรสงคราม พบว่า มีจ านวนปริมาตรไม้ ประมาณ.102.59.ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ใAksornkoae.S.,.Wattayakorn.G..and.Kaitpraneet.W. (1978) ศึกษาป่าชายเลนบริเวณอ าเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี พบว่า ปริมาตรของไม้มีค่าผันแปร ตั้งแต่บริเวณของป่า ซึ่งติดกับทะเลกระทั่งห่างจากชายฝั่งมากขึ้น โดยบริเวณป่าชายเลนซึ่งติด กับชายฝั่งมีปริมาตรไม้ประมาณ 35 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ เนื่องจากมีไม้ขนาดเล็ก ประกอบด้วยพันธุ์ไม้น้อยชนิด ถัดเข้าไป พบว่า ปริมาตรไม้ประมาณ 120 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ เป็นแนวเขตที่ต้นไม้มีขนาดใหญ่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิด แนวเขตสุดท้ายติดกับป่าบก มีปริมาตรไม้ประมาณ 84 ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ จากข้อมูลที่ท าการศึกษา พบว่า ปริมาตรไม้ป่าชายเลนของประเทศไทยมีค่าเฉลี่ย ประมาณ.93.98.ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์.เมื่อจ าแนกในแต่ละภาค พบว่า ปริมาตรไม้ ในป่าชายเลนภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคกลางมีค่าเฉลี่ยประมาณ 103.35,.89.625 และ 88.95.ลูกบาศก์เมตรต่อเฮกแตร์ ตามล าดับ ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบปริมาตรไม้ป่าชายเลน ในแต่ละภาค พบว่า พื้นที่ป่าชายเลนของภาคใต้มีปริมาตรไม้มากกว่าพื้นที่ป่าชายเลน ภาคตะวันออกและภาคกลาง 2.10.7 การแบ่งชั้นความสูงตามแนวดิ่ง (Vertical.stratification) การแบ่งชั้นความสูง ตามแนวดิ่งเป็นการศึกษาโครงสร้างสังคมพืชที่ส าคัญลักษณะหนึ่ง ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ การลดลงของปริมาณแสงสว่างท าให้มีผลต่อความสามารถในการสังเคราะห์แสงของหมู่ไม้ นั้นๆ (Ogawa H. Yoda K. and Kira t. 1965.:.12) โดยทั่วไปการแบ่งชั้นความสูงตามแนวดิ่ง


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above