23 เป็นแนวคิดขั้นพื้นฐานในการศึกษาลักษณะสังคมพืช จะแตกต่างกันไปในพืชบกและพืชน้ า กรณีของสังคมพืชบก เช่น ป่าไม้ แม้ว่าการแบ่งชั้นความสูงตามแนวดิ่งจะสามารถแสดง ในรูป ของส่วนที่อยู่เหนือพื้นดินและระบบราก แต่การแบ่งชั้นความสูงตามแนวดิ่งที่ดีที่สุดมักแสดง ในรูปลักษณะโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดิน (พงศ์ศักดิ์ สหุนาฬุ. 2538 : 56) การศกึ ษาการแบ่งชั้นความสูงตามแนวด่งิ ของไม้ยืนต้น ใช้แปลงตัวอย่างขนาด 5.x.10 เมตร ยาวตลอดแนว Transect.line บันทึกต าแหน่งของไม้ยืนต้นโดยวัดระยะทางในแนวตั้งฉาก กับขอบแปลงทั้งสองด้าน วัดความกว้างของเรือนยอด (Crown.diameter) โดยวัดสองครั้งใน แนวตั้งฉากซึ่งกันและกันด้วยเทปวัดระยะทาง วาดการปกคลุม (Crown cover) และการซ้อนทับ (Crown overlapping) ของเรือนยอดของไม้ยืนต้นลงในกระดาษกราฟ โดยใช้มาตรส่วน 1.:.10 การแบ่งชั้นความสูงตามแนวด่งิ ที่นิยมใชกั้นทั่วไปมีดังนี้ 1) Profile.diagram.เป็นวิธีการซึ่ง.(Davis.T.A.W..and.Richards.P.W..1933.:.354) จัดแบ่งชั้นความสูงตามแนวด่งิ ของต้นไม ้ แต่ละชนิด มีขอ้ ดี คือ สามารถกระท าได้ง่าย เนื่องจาก มักใช้ความกว้างของแปลงไม่เกิน 10 เมตร หากขนาดแปลงกว้างมากกว่านี้แล้วจะเกิดการซ้อนทับ ของต้นไม้มาก ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้สามารถแก้ไขโดยเขียน Profile ในรูป 3 มิติ สรุปว่า การเขียน Profile.diagram ท าให้ทราบถึงความสูงของต้นไม้ รูปทรงของต้นไม้และทิศทางของกิ่ง ขนาดใหญ่ รูปร่างของเรือนยอด ระยะห่างระหว่างต้น ขนาดและรูปทรงของพูพอน รูปทรงทาง สถาปัตยกรรมของต้นไม้ เถาวัลย์ และไม้พื้นล่างที่มีขนาดใหญ่ ต าแหน่งของต้นไม้ ซึ่งสัมพันธ์ กับการได้รับแสงสว่างและการถูกบดบัง และผลที่ได้จากความเสียหายในอดีต การเขียน Profile.diagram มีข้อเสีย คือ วิธีการนี้เป็นการแบ่งชั้นความสูง โดยใช้สายตาอาจท าให้การวัด ความสูงไม่ตรงกันโดยเฉพาะในป่าที่มีความสูงไม่เด่นชัด 2) Crown depth diagram หรือ H.-.HB diagram เป็นการศึกษาการแบ่งชั้นความ สูงตามแนวดิ่งโดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างความสูงทั้งหมดของต้นไม้และความสูงถึงกิ่งสด กิ่งแรกเป็นหลัก มีข้อดี คือ ท าให้การแบ่งชั้นความสูงตามแนวดิ่งมีความถูกต้องมาก เนื่องจาก การใช้ตัวแปรหลายตัว ได้แก่ ความสูงทั้งหมด ความสูงถึงกิ่งสดกิ่งแรก Crown.curve และ Height curve นอกจากนี้ยังบอกถึงความสูงตามแนวดิ่งของต้นไม้แต่ละชั้นและจ านวนต้นไม้ใน แต่ละชั้น แต่วิธีนี้การค านวณแบ่งชั้นค่อนข้างยุ่งยากและเป็นวิธีที่อาจท าได้ยาก ในกรณีที่ป่านั้น มีความยากล าบากในการวัดความสูงถึงกิ่งสดกิ่งแรก (Ogawa H. Yoda K. and Kira t. 1965 : 15)
ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above