Page 42

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

28 เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา.สิริโสภาพัณณวดี.จึงได้ร่วมกันจัดตั้ง.“อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ” ณ.ค่ายพระรามหก.ต าบลชะอ า.อ าเภอชะอ า.จังหวัดเพชรบุรี .เพื่อน้อมเกล้าฯ.ถวาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ.สยามบรมราชกุมารี.ในวโรกาสที่เจริญพระชนมายุครบ.4.รอบ ในปี.พ.ศ..2546.และได้รับพระราชทานนามว่า.“อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร” (The.Sirindhorn.International.Environmental.Park).โดยมีแนวทางในการด าเนินการตามแนว พระราชด าริและพระราชกรณียกิจ .ที่ได้เสด็จพระราชด าเนินมาทรงงานในบริเวณ ค่ายพระรามหก.เป็นแนวทางในการด าเนินงานให้อุทยานฯ.เป็นเสมือนพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ ที่มีชีวิต.โดยมุ่งหวังว่าเมื่ออุทยานฯ.แห่งนี้เสร็จสมบูรณ์แล้วจะเป็นสถานที่เผยแพร่ พระเกียรติคุณและพระปรีชาสามารถในด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติ.สิ่งแวดล้อม.ประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม ให้เป็นที่ประจักษ์ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ.และเป็นสถานที่ศึกษา หาความรู้ทางด้านการฟื้นฟูป่าชายเลน.ป่าชายหาด.ป่าเบญจพรรณ.และที่อยู่อาศัยของสัตว์ นานาชนิดตลอดจนเป็นสถานที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงประวัติศาสตร์ อันทรงคุณค่าของประเทศไทยและของโลก อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร.บริหารจัดการ โดยมูลนิธิอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร. 2557) 2.14 งานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง ธนากร อ้วนอ่อน และคณะ (2531) ได้ศึกษาโครงสร้างป่าชายเลนบริเวณ อ่าวทุ่งคา และอ่าวสวี อ าเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ผลการศึกษา พบว่า การกระจายตัวของชนิดพันธุ์พืช จะขึ้นปะปนกันจนยากแก่การจ าแนกออกมาเป็นเขต นอกจากไม้โกงกางที่ขึ้นอยู่ใกล้ ชายฝั่งทะเลเท่านั้นที่มีลักษณะเด่น Pure Stand โดยโกงกางจะมีความหนาแน่น 584 ต้นต่อไร่ ก าลังผลิต 2.34 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ และจ านวนลูกไม้ 5,200 ต้นต่อไร่ กัลยา วัฒนากร (2534 : 3.-.4) ได้ศึกษาโครงการวิจัยระดับระดับภูมิภาคด้านป่าชายเลน จังหวัดระนอง ด้านสมุทรศาสตร์และอุทกศาสตร์ พบว่า ป่าชายเลนบริเวณคลองหงาว ต าบลหงาว อ าเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง มีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ พันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่เป็นจ านวนมาก ได้แก่.แสม.(Avicemmia.alba).ล าพู.-.ล าแพน.(Sonneratia.spp.).โกงกางใบเล็ก.(Rhizophora apiculata) .น อ ก จ า ก นี้ พ บ ไ ม้ อื่น ๆ .ขึ้ น อ ยู่ ข้ า ง ใ น ป ริ ม า ณ ที่ ไ ม่ ม า ก นัก .ไ ด้ แ ก่ .ไ ม้ โ ป ร ง (Ceriops.spp.).ไม้ตะบูน.(Xylocarpus.spp.).และไม้ถั่ว.(Bruguiera.spp.).ส าหรับไม้โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora.mucronata) ซึ่งเป็นไม้ที่ส าคัญอีกชนิดหนึ่งในป่าชายเลนพบค่อนข้างน้อยในบริเวณนี้ วิจารณ์ มีผล.(2537).ได้ศึกษาป่าชายเลนอ าเภอเมืองระนอง.จังหวัดระนอง..พบว่า..ในแปลง


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above