Page 79

ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี

65 วันที่ 17 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ถึงวันที่ 25.เดือนกรกฎาคม พ.ศ..2557.พบพันธุ์ไม้ ทั้งหมดที่เป็นไม้ใหญ่ จ านวน 8 ชนิด มีพรรณไม้ 5 ชนิด ที่สามารถพบได้ทุกแปลงส ารวจ พบพันธุ์ไม้ที่เป็นลูกไม้ จ านวน.10.ชนิด.และพบพันธุ์ไม้ที่เป็นกล้าไม้จ านวน.9.ชนิด.จะเห็นได้ว่า พรรณไม้เมื่อเปรียบเทียบกับป่าชายเลนในพื้นที่อื่นๆ พบว่า มีจ านวนชนิดพรรณไม้น้อย เพราะ พื้นที่ป่าชายเลยคลองบางตราใหญ่เคยเป็นพื้นที่เสื่อมโทรมในอดีตได้มีการปลูกเพิ่มเพื่อฟื้นฟู สภาพพื้นที่ (อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร. 2557) จึงท าให้พรรณไม้ต่างๆ มีจ านวนชนิด ที่น้อย พันธุ์ไม้ที่พบส่วนใหญ่แล้วเป็นพันธุ์ไม้เดิมของพื้นที่ที่ยังหลงเหลือจากการถูกท าลายและ สามารถขยายพันธุ์ได้ดี ได้แก่ พันธุ์ไม้จ าพวกแสมทะเล จากแปลงศึกษาแบบชั่วคราวทั้ง 3 แนว พบพรรณไม้ที่เป็นไม้พื้นล่าง (Undergrowth.species) น้อยมาก ทั้งนี้เนื่องจากไม้พื้นล่างชนิดต่างๆ ทั้งที่เป็นไม้ล้มลุก ไม้เถา เฟิร์น และพืชตระกูลปาล์ม ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ที่ต้องการแสงสว่างมาก (Strong.light.demanding.species) แตป่ ่าชายเลนในพืน้ ที่ เป็นสังคมไม้ที่มีความหนาแน่นสูง การ ปกคลุมของเรือนยอดมีลักษณะต่อเนื่องและค่อนข้างทึบ ดังนั้นปริมาณแสงสว่างสัมพัทธ์ (Relative.light.intensity) ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความส าคัญต่อไม้พื้นล่างอยู่ในระดับต่ า ด้วยเหตุนี้จึง พบพันธุ์ไม้พื้นล่างน้อยมากในแปลงศึกษาทั้งสามแนวที่ท าการศึกษา (ชนพ แจ้งใจ. 2547) ความหนาแน่นของต้นไม้ในป่าชายเลนบางตราใหญ่ ซึ่งมีค่าความหนาแน่น เท่ากับ 257.78 ต้นต่อไร ่ เม่อื เปรียบเทียบกับการศกึ ษาป่าชายเลนบริเวณอ าเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ที่มีความหนาแน่น.414.40 และ.484.8 ต้นต่อไร่.(วิจารณ์ มีผล. 2537.:.128) ป่าชายเลนบริเวณ กลางคลองขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช มีความหนาแน่น.426.40 ต้นต่อไร่ (ภิเศก สาลีกุล. 2540 : 46) และป่าชายเลนบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนใน ซึ่งมีความหนาแน่นสูงถึง 862.08 ต้นต่อไร่ (นิพิท ศรีสุวรรณ และคณะ. 2542 : 74) ความหนาแน่งของป่าชายเลนบางตราใหญ่ มีค่าน้อย.แม้ว่าความหนาแน่นของต้นไม้ในพื้นที่ป่าชายเลน.จะน้อยกว่าในหลายพื้นที่ แต่จากการส ารวจในพื้นที่จะพบกลุ่มแม่ไม้ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นอยู่เป็นจ านวนมาก และเป็นสาเหตุ ที่ท าให้ขั้นตอนของการทดแทน.(Seral.stage).ซึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถในการแก่งแย่ง (Competition) การรอดตาย (Survival) และการเจริญเติบโตของกล้าไม้สู่ลูกไม้ ไม้รุ่น (Juvenile stage) และไม้ที่เติบโตเต็มวัย (Mature stage) โดยขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น การบดบังของไม้ ชั้นบน ซึ่งท าให้กล้าไม้ไม่สามารถเจริญเติบโตเข้าสู่สภาพการเป็นลูกไม้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กล้าไม้และลูกไม้ของไม้ชั้นบน.สอดคล้องกับการศึกษาของ.Kongsangchai.j..(1988).ที่พบว่า ในหมู่ไม้ที่มีอายุเดียวกันนั้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของต้นไม้จะผกผันกับความหนาแน่น ของต้นไม้มีความหนาแน่นของต้นไม้น้อย ความโตของพรรณไม้ ทั้ง.2.ด้าน.ได้แก่ ความโตทางด้านขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เฉลี่ยของต้นไม้ ที่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.0 เซนติเมตร ขึ้นไป (กรณี ไม้โกงกาง


ปัญหาพิเศษ เรื่อง ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของป่าชายเลน การศึกษาโครงสร้างสังคมพืชป่าชายเลน ในพื้นที่คลองบางตราใหญ่ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ค่ายพระรามหก ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรีในพื้นที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
To see the actual publication please follow the link above