Page 138

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร

4-4 วิธีการศึกษา - รวมรวมและสังเคราะห์ข้อมูลทุติภูมิในพื้นที่ศึกษา ว่ามีรายงานการศึกษาด้านการ ปรากฏของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม นิเวศวิทยา สถานภาพและการกระจาย - คัดเลือกพื้นที่ตัวแทนของระบบนิเวศ - ดำเนินการศึกษารวบรวมข้อมูลในพื้นที่ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลปัจจุบัน โดยการเก็บข้อมูล ทั้งการพบเห็นตัวโดยตรง และทางอ้อม โดยดำเนินการศึกษาตามวิธีต่างๆ ดังนี้ �� การจัดทำแนวทางการสำรวจ (transect line) ให้ได้พื้นที่ศึกษาที่เป็นตัวแทนใน แต่ละ ระบบนิเวศ แล้วดำเนินการจัดทำเครื่องหมายระยะทาง เก็บข้อมูลทั้งที่พบเห็นโดยตัวตรง และจากร่องรอยของสัตว์เช่น กองมูล รอยเท้า รอยประกาศอาณาเขต รอยลับเขา เป็นต้น �� การใช้ตาข่ายและกับดัก (netting and trapping) ใช้กรงดักสุ่มวางในแหล่งที่ คาดว่าจะเป็นที่อยู่อาศัยและทำกิจกรรมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กรวมทั้งวางตาข่ายดักจับ ค้างคาว �� การส่องไฟในเวลากลางคืน (spotlighting) (1.2) การศึกษานก อุปกรณ์ - กล้องส่องทางไกลตาเดียวและสองตา - คู่มือดูนก - ถ่านไฟฉาย พร้อมถ่าน - แบตเตอรีสำหรับส่องหาสัตว์ในเวลากลางคืน (spotlight) - เชือกและเทปวัดระยะ - เครื่องมือระบุพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) และเครื่องมือระบุความสูงจาก ระดับน้ำทะเล (altimeter) - ชุดคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งเครื่องสแกนเนอร์ พรินเตอร์ กล้องพร้อมอุปกรณ์การถ่ายภาพ - แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลนก โดยวิธี Point Count - แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลนกโดยวิธี Road Side Count รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร
To see the actual publication please follow the link above