Page 56

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร

2-35 xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch.) I.C.Nielsen) ช้างน้าว (Ochna integerrima (Lour.) Merr.) กาสามปีก (Vitex peduncularis Wall. ex Schauer) มะม่วงนก (Buchanania glabra Wall. ex Hook.f.) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus Kurz) หนามแท่ง (Catunaregam longispina (Roxb. ex Link) Tirveng.) และคำรอก (Ellipanthus tomentosus Kurz var. tomentosus) โดยมีค่าดัชนีความสำคัญเท่ากับ 122.38, 29.59, 22.83, 16.81, 13.68, 11.018.29, 8.04, 6.70 และ 4.93 ตามลำดับ (ตารางที่ 2.4) โดยกลุ่มพรรณไม้เด่นในป่าเต็งรังมี ความคล้ายคลึงกับในป่าผสมผลัดใบในพื้นที่มาก เนื่องจากชนิดป่าทั้งสองชนิดนี้มักพบขึ้นปะปน กันภายในพื้นที่อุทยานฯ ส่วนจะเป็นป่าชนิดใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้นที่ ทำให้พรรณไม้เด่น ในป่าทั้งสองมีการโปรยเมล็ด งอก และเจริญเติบโตได้ในพื้นที่ใกล้เคียงได้ ดังนั้น ความคล้ายคลึง ด้านชนิดพันธุ์พืชระหว่างป่าจึงมีสูงมาก รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร
To see the actual publication please follow the link above