3-19 (1.3.3) กระดาษบันทึกข้อมูลพรรณไม้ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร (1.4) วัสดุ อุปกรณ์สำหรับศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาเพื่อการระบุชื่อ พฤกษศาสตร์ (1.4.1) กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอ (1.4.2) จานแก้ว (Petri dish) (1.4.3) ไม้บรรทัด และเวอร์เนียคาร์ลิปเปอร์ (1.4.4) ปากคีบ (1.4.5) เข็มเขี่ย (1.4.6) หลอดหยด (1.4.7) เอกสารทางอนุกรมวิธานพืช (1.4.8) ตัวอย่างพรรณไม้ที่เก็บจากภาคสนาม (1.4.9) ตัวอย่างพรรณไม้แห้ง และพรรณไม้ดองที่เก็บรักษาไว้ในหอพรรณไม้และ พิพิธภัณฑ์พืช (2) วิธีการ (2.1) การตรวจเอกสารและศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (2.1.1) รวบรวมและศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของพื้นที่ศึกษา เช่น สถานที่ตั้ง ลักษณะภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศ สังคมพืช เป็นต้น (2.1.2) รวบรวมและศึกษาข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวกับการสำรวจและศึกษาพรรณพืชในพื้นที่ ศึกษา และพื้นที่ใกล้เคียง (2.2) การสำรวจ ศึกษา และเก็บรวบรวมข้อมูลพรรณไม้ในภาคสนาม (2.2.1) สำรวจพื้นที่ศึกษาเบื้องต้น เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา จุดสำรวจ หรือ เส้นทางสำรวจ ให้ครอบคลุมทุกระบบนิเวศ
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร
To see the actual publication please follow the link above