Page 27

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร

2-6 (1.5) ความหนาแน่นสัมพัทธ์ชนิดไม้ (Relative density, RD) คือ สัดส่วนของความ หนาแน่นของชนิดไม้ที่ต้องการต่อค่าความหนาแน่นทั้งหมดของไม้ทุกชนิดในสังคม RDA = ความหนาแน่นของพันธุ์ไม้ A x 100 ความหนาแน่นของไม้ทุกชนิดในสังคม (1.6) ความความเด่นสัมพัทธ์ (relative dominance, RD) คือ ค่าสัดส่วนของความเด่น ของชนิดไม้ที่ต้องการต่อค่าความเด่นทั้งหมดของไม้ทุกชนิดในสังคม RDoA = ความเด่นของพันธุ์ไม้ A x 100 ความเด่นของไม้ทุกชนิดในสังคม (1.7) หาค่าดัชนีความสำคัญของชนิดไม้ (Importance value index, IVI) คือ ผลรวมของ ค่าความสัมพัทธ์ต่างๆ ของชนิดพันธุ์ไม้นั้นในสังคม ซึ่งหาได้จากสูตร IVIA = RFA + RDA + RDoA รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร (2) บรรยายลักษณะโครงสร้างด้านตั้ง (Profile diagram) และการปกคลุมของเรือนยอด (Crown cover diagram) ของป่าแต่ละชนิด (3) วิเคราะห์ปริมาณแสงสว่างผ่านเรือนยอด และดัชนีพื้นที่ผิวใบ จากภาพถ่ายเรือนยอด โดยใช้โปรแกรม Hemi-views หรือใช้ FEW2b ในการวิเคราะห์ (4) คำนวณค่าดัชนีความหลากหลาย (diversity indies) ของสังคมพืชแยกตามชนิดป่า โดยใช้สมการของ Shanon-Wiener (1949, อ้างตาม Ludwig และ Reynold) มีสูตรดังนี้ H/ = Σ= − S i 1 (Pi ln Pi) H/ = ค่าดัชนีความหลากหลายของพื้นที่


รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร
To see the actual publication please follow the link above